E N D
BWC 4 การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
1.ความเป็นมา กรมวิชาการเกษตรได้มีการปรับเปลี่ยนภารกิจไปตามสถานการณ์ จึงทำให้บทบาทและหน้าที่มีการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ เป็นองค์กรที่มีรูปแบบที่มุ่งงานมากกว่ามุ่งคน เพราะคิดว่ามีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพไม่ต่างจากองค์กรชั้นนำอื่นๆ อย่างไรก็ตามตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาบุคลากรบางส่วน เริ่มขาดความเชื่อมั่นในระบบการบริหารจัดการองค์กร จนอาจมีผลทำให้จำนวนบุคลากรที่มีรู้สึกรักในองค์กรเพิ่มขึ้นอันจะทำให้ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในภาพรวมของกรมวิชาการเกษตรลดลง BWC 4
2.วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรมีทัศนคติที่ดี มีความรักและผูกพันต่อองค์กร BWC 4
3.จุดแข็ง-จุดอ่อน จุดแข็ง • ทรัพยากรบุคคลมีคุณภาพสูง มีพื้นฐาน ความรู้ที่หลากหลาย • มีหน่วยงานในสังกัดกระจายอยู่ทั่วประเทศ BWC 4
3. จุดแข็ง-จุดอ่อน จุดอ่อน • บุคลากรมีความเชื่อมั่นต่อองค์กรลดลง • เปลี่ยนผู้บริหารบ่อยเกินไปทำให้นโยบายไม่ต่อเนื่อง • บรรยากาศที่เหมาะสมในการทำงานลดลง • บุคลากรขาดทักษะในการทำงานร่วมกัน ทำให้เกิดความขัดแย้ง มีความแตกแยก มีผลทำให้ทัศนคติที่ดีต่อองค์กรลดลง BWC 4
4.ขั้นตอนของแผน BWC 4
5. แผนสำรองกรณีฉุกเฉิน 5.1 มอบหมายให้หน่วยงานระดับสำนักและสถาบัน จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อให้บุคลากรเข้าใจกรมวิชาการ เกษตรในเชิงบวก มองแง่ดีและมีความสร้างสรรค์ 5.2 อนุญาตให้มีการจัดตั้งชมรมคนรักกรมวิชาการเกษตร เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่รักและมองเห็นคุณค่ากรมวิชา การเกษตรได้มีกิจกรรมรณรงค์ปลูกจิตสำนึกให้คน ในกรมวิชาการเกษตรมีความรู้สึกที่ดีต่อองค์กร BWC 4
6. บทสรุปต่อคณะผู้จัดการ 6.1 มีแนวโน้มว่าบุคลากรมีทัศนคติเชิงลบ ทำให้ความรัก ผูกพันต่อกรมวิชาการเกษตรลดลง 6.2 กรมฯควรสร้างขวัญ กำลังใจ เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติ ของบุคลากรต่อองค์กรอย่างเร่งด่วน 6.3 เร่งเสริมสร้างระบบจริยธรรม คุณธรรม ให้เกิดขึ้นใน ทุกระดับขององค์กร 6.4 ปรับปรุงสวัสดิภาพของบุคลากรให้มีความทัดเทียม กับองค์กรชั้นนำอื่นๆ BWC 4
สวัสดี BWC 4