820 likes | 936 Views
การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา. เสนอ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 16 พฤศจิกายน 2553. งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร ?. 3,000-4,000 บาท. ปี. ความต้องการ “คน” ที่เปลี่ยนแปลงไป. อุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัย. มัธยม. 2540. 2553. ประถม. 2558-2566. โรงเรียน ?. เด็กเปลี่ยน.
E N D
การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาการพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เสนอ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 16 พฤศจิกายน 2553
งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร?งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร? 3,000-4,000 บาท ปี
ความต้องการ “คน” ที่เปลี่ยนแปลงไป อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย มัธยม 2540 2553 ประถม 2558-2566
โรงเรียน? เด็กเปลี่ยน ความต้องการเปลี่ยน
ความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้น จะมีโรงเรียนเพียงบางส่วนเท่านั้นที่จะปรับตัวใช้ประโยชน์จากระบบใหม่นี้ได้
วิสัยทัศน์ของงานวิจัยวิสัยทัศน์ของงานวิจัย = ศึกษาใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การศึกษาวิธีหัดใช้คอมพิวเตอร์
มีเครื่องฯ ทุกคน ใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่ใช่การแบ่งเครื่อง กันใช้แบบเดิม ÷
วิสัยทัศน์ของงานวิจัย (2) คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ยาวิเศษ
ครู และ ผู้บริหารโรงเรียน มีบทบาทสำคัญมากในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการผ่านการทำโครงงาน
จุดประสงค์ • คอมพิวเตอร์พกพาช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างไร • ศึกษาว่าเกิดการเรียนรู้แบบใหม่ๆ อะไรได้บ้าง • เพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมของโรงเรียน • เพื่อศึกษาผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์พกพา
โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
ลักษณะการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปใช้ลักษณะการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯ คอมพิวเตอร์ XO จำนวน 478 เครื่อง บริจาคโดย • Mr. Francis Lee 100 เครื่อง • มูลนิธิไทยคม • XO-1
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯ • ประหยัดพลังงาน กินไฟต่ำ 4-8 วัตต์ (ทั่วไป 30-60 วัตต์) • ความทนทาน (ทนแรงกระแทก ทนความร้อนชื้นหรือหนาวเย็น ฝุ่น น้ำ) • จอภาพที่อ่านได้กลางแสงแดด จอถนอมสายตา • กล้องถ่ายภาพพร้อมลำโพงและไมโครโฟน • ระบบเครือข่ายไร้สาย ระบบ Wifiและ Mesh network
กิจกรรมในโครงการวิจัยฯกิจกรรมในโครงการวิจัยฯ • การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 6–7 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ณ ศูนย์อบรม บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ลำปาง) จำกัด จ.ลำปาง • การลงพื้นที่ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานและการซ่อมบำรุงเครื่องเมื่อวันที่ 26 -27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 • การสัมมนาโครงการวิจัยฯครั้งที่ 1วันที่ 28-29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ณ สำนักงานโครงการพัฒนาดอยตุงฯ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย • การสัมมนาโครงการวิจัยฯ ครั้งที่ 2 วันที่ 23-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ณ ดรุณสิขาลัยโรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของมหาวิยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพฯ
กระบวนการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลจะอาศัยกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูล (1) ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ของนักวิจัย (2) ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร และนักเรียน (3) บันทึกของนักเรียนและรายงานประจำเดือนของโรงเรียน (4) แบบสอบถามของนักวิจัย
ประเด็นในการเก็บข้อมูลประเด็นในการเก็บข้อมูล • ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้การนำคอมพิวเตอร์พกพาไปใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ • แนวทางการจัดการเรียนรู้ • การจัดเวลา, การประเมินผลทางด้านวิชาการ, กฎเกณฑ์ในการใช้เครื่องฯ ภายในโรงเรียน • ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ • การแก้ปัญหาเบื้องต้นทางเทคนิคที่จำเป็นสำหรับครูและนักเรียน
Constructivismมนุษย์เรียนรู้อย่างไรConstructivismมนุษย์เรียนรู้อย่างไร Jean Piaget
ประเด็นสำคัญจากตัวอย่างประเด็นสำคัญจากตัวอย่าง • เด็กที่ยังไม่ได้พัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ Conservation ต่อให้สอนอย่างไรเด็กก็จะไม่เข้าใจ • เด็กจะเข้าใจเรื่องนี้ได้เมื่อถึงวัย โดยเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของตน • เด็กที่พัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ Conservation แล้วจะจำไม่ได้ว่าตัวเองคิดอย่างไรในตอนที่ไม่เข้าใจ
Schemaการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของมนุษย์Schemaการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของมนุษย์ เห็นไข่แล้วนึกถึงอะไร?
Schema ของแต่ละคนมีผลต่อการรับรู้ และตีความสิ่งที่ได้พบ
การเรียนที่ดีที่สุดคือการได้รับการส่งเสริม โดยตั้งอยู่บนความเข้าใจที่มี และช่วยให้เกิดการพัฒนาแนวคิดของตนเองไปเรื่อยๆ
การพัฒนาความคิดแบบก้นหอยคว่ำการพัฒนาความคิดแบบก้นหอยคว่ำ
Constructionism Seymour Papert
Constructivism เกิดขึ้นได้ดีเป็นพิเศษเมื่อผู้เรียนได้สร้างชิ้นงานที่เป็นรูปธรรม