1 / 42

อุทยานแห่งชาติปางสีดา : จังหวัดสระแก้ว

อุทยานแห่งชาติปางสีดา. ยินดีต้อนรับ. ผู้อำนวยการส่วนอุทยานแห่งชาติ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปราจีนบุรี) และคณะ. โดย : อวยพร แสงเทียน. อุทยานแห่งชาติปางสีดา : จังหวัดสระแก้ว. สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปราจีนบุรี). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.

Download Presentation

อุทยานแห่งชาติปางสีดา : จังหวัดสระแก้ว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุทยานแห่งชาติปางสีดาอุทยานแห่งชาติปางสีดา ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการส่วนอุทยานแห่งชาติ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1(ปราจีนบุรี) และคณะ โดย : อวยพร แสงเทียน อุทยานแห่งชาติปางสีดา : จังหวัดสระแก้ว สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปราจีนบุรี) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช

  2. ข้อมูลทั่วไป อุทยานแห่งชาติปางสีดา เป็นหนึ่งในโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขาจังหวัดปราจีนบุรี ได้ประกาศในราชกิจานุเบกษา ให้เป็นอุทยานแห่ง ชาติ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525 เป็นอุทยานแห่งชาติอันดับที่ 41 ของประเทศไทย มีพื้นที่ 527,500 ไร่ (844 ตารางกิโลเมตร)

  3. ทรัพยากรป่าไม้ในอุทยานแห่งชาติปางสีดา ประกอบด้วยป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่าไผ่ และทุ่งหญ้า ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ป่าเต็งรัง ทุ่งหญ้า ป่าไผ่ ป่าไผ่

  4. ทรัพยากรสัตว์ป่า สัตว์ป่าในอุทยานแห่งชาติปางสีดา พบสัตว์ ต่าง ๆ ดังนี้ -สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบประมาณ 81 ชนิด เช่น เสือโคร่ง ช้างป่า กระทิง -สัตว์ปีก พบประมาณ 143 ชนิด เช่น นกเงือก นกอ้ายงั่ว นกพญาไฟ -สัตว์เลื้อยคลาน พบประมาณ 19 ชนิด เช่น จระเข้งูหลาม กิ้งก่าบิน -สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ พบประมาณ 16 ชนิด เช่น กบห้วยขาปุ่ม จงโคร่ง -ปลาน้ำจืด พบประมาณ 19 ชนิด เช่น ปลาดุกขน ปลาชะโอน ปลากั้ง

  5. จุดชมวิว กม.25 จุดชมวิว น้ำตกปางสีดา จุมชมวิว น้ำตกถ้ำค้างคาว สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ทุ่งหญ้าโป่งกระทิง ภูเขาเจดีย์ อ่างเก็บน้ำพระปรง ทุ่งหญ้าโป่งกระทิง

  6. กิจกรรมที่น่าสนใจ

  7. สิ่งอำนวยความสะดวกในอุทยานแห่งชาติปางสีดาสิ่งอำนวยความสะดวกในอุทยานแห่งชาติปางสีดา

  8. อัตรากำลังอุทยานแห่งชาติปางสีดาอัตรากำลังอุทยานแห่งชาติปางสีดา - ข้าราชการ จำนวน 5 คน - ลูกจ้างประจำ จำนวน 20 คน - พนักงานราชการ จำนวน 74 คน - พนักงานจ้างเหมา จำนวน 65 คน รวมจำนวน 164 คน

  9. 1. การบริหารจัดการ อุทยานแห่งชาติปางสีดา ฝ่ายบริหาร งานสารบัญ งานพัสดุ งานการเงินและบัญชี งานพัฒนา ดูแลบ้านพัก งานรักษาความปลอดภัย ฝ่ายป้องกันและปราบปราม งานคดีและของกลาง งานอนุญาต งานสายตรวจส่วนกลาง ฝ่ายวิชาการและสื่อความหมายธรรมชาติ งานศึกษาวิจัย การส่งเสริมการท่องเที่ยว งานนันทนาการและสื่อความหมาย งานศูนย์บริการนักท่องเที่ยว -เขตการจัดการอุทยานฯปางสีดา ที่ 1 (ส่วนกลาง) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปด. 4 (ด่านตรวจ) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปด. 5 (ห้วยน้ำเย็น) -เขตการจัดการอุทยานฯปางสีดาที่ 2 (คลองหมากนัด) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที 1 (แก่งยายมาก) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่2 (คลองหมากนัด) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดาที่ 3 (โคกสัมพันธ์) -เขตการจัดการอุทยานฯ ปางสีดา ที่ 3 (คลองเกลือ) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่ 6 (ช่องกล่ำบน) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่ 7 (คลองเกลือ) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่ 8 (พระปรง) -เขตการจัดการอุทยานฯ ปางสีดา ที่ 4 (เขาทะลาย) หน่วยพิทักษ์อุทยานน ปางสีดา ที่ 9 (เขห้วยชัน) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่ 10 (วังครก) หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ปางสีดา ที่ 11 (เขาทะลาย)

  10. ลำดับความสำคัญของแผนงานและโครงการตามแผนแม่บทการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติปางสีดาลำดับความสำคัญของแผนงานและโครงการตามแผนแม่บทการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติปางสีดา

  11. ลำดับความสำคัญของแผนงานและโครงการตามแผนแม่บทการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติปางสีดาลำดับความสำคัญของแผนงานและโครงการตามแผนแม่บทการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติปางสีดา หมายเหตุ ลำดับความสำคัญ (1) ระยะเร่งด่วนดำเนินการปีที่ 1-3 (2) ระยะปานกลางดำเนินการปีที่ 4-6 และ (3) ระยะยาวดำเนินการปีที่ 7-10

  12. เงินรายได้อุทยานแห่งชาติปางสีดาเงินรายได้อุทยานแห่งชาติปางสีดา ปีงบประมาณ 2549 เป็นเงิน2,077,920บาท เงินรายได้อุทยานแห่งชาติปางสีดา3 ปีย้อนหลัง -ปีงบประมาณ 2546 1,254,210 บาท -ปีงบประมาณ 2547 1,359,410 บาท -ปีงบประมาณ 2548 1,428,530 บาท

  13. สถิตินักท่องเที่ยวปีงบประมาณ 2546-2548 แยกประเภทค้างแรม,ไป – กลับ คนไทย , ต่างชาติ (3 ปีย้อนหลัง) สถิตินักท่องเที่ยวปีงบประมาณ 2549

  14. ผลการปฏิบัติงานบริหารและงานพัฒนาผลการปฏิบัติงานบริหารและงานพัฒนา 1.2 การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ 1.2.4 ประชุมสมาชิกร้านสวัสดิการ 1.2.2 ประชุมเจ้าหน้าที่อุทยานฯ

  15. 1.4 การพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อความร่วมมือในการอนุรักษ์อุทยานแห่งชาติปางสีดา มีนาคม 2548 – กุมภาพันธ์ 2551 โดยการสนับสนุนของกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สำนักงานประเทศไทย (WWF) จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติปางสีดา จำนวน 20 คน 5 หลักสูตร หลักสูตร 1 : ผู้นำการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ หลักสูตร 3 การผลิตและการใช้สื่อเพื่อการรณรงค์อนุรักษ์อุทยานแห่งชาติปางสีดา หลักสูตร 4 กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน หลักสูตร 2 ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติ หลักสูตร 5 : การจัดการความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

  16. 1.5 ความสามัคคีภายในองค์กร ทำบุญเลี้ยงพระวันครบรอบวันก่อตั้งอุทยานฯ สักการะศาลเจ้าพ่อเสือ กิจกรรมแข่งกีฬา

  17. 1.11 การบริหารจัดการพัสดุและอุปกรณ์ จัดแผนกซ่อมบำรุงยานพาหนะและจัดซื้ออุปกรณ์ซ่อมบำรุง ปรับปรุงโรงรถ

  18. 1.16 ถ่ายทอดนโยบายและคำสั่ง 1.17 การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม รนรงค์เก็บขยะ ปรับปรุงบ่อบำบัดน้ำเสีย 1 แห่ง

  19. 1.19 การติดตามควบคุมและประเมินผล ออกตรวจเยี่ยมหน่วยเป็นประจำทุกเดือน การตรวจเยี่ยมโครงการในพระราชดำริ

  20. 1.21 การมีส่วนร่วมกับองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นเจ้าภาพงานกีฬาข้าหลวงคัพ 49 จัดเทศการดูผีเสื้อที่ปางสีดา จัดนิทรรศการงานกาชาดประจำปี 2549 ร่วมกับ WWF จัดโครงการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรฯ

  21. 2. ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ดูแลพื้นที่ 527,500 ไร่ แบ่งเป็นหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ 8 หน่วยฯ 2 จุดสกัด และ อีก 1 ชุดสายตรวจส่วนกลาง ปด 10 ปด 1 ปด 2 ปด 5 ปด 8 ปด 4 ปด 3 ปด 9 ปด 11 ปด 6 ปด 7 สัญลักษณ์ หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ จุดสกัด

  22. 2.4 การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ปฏิบัติหน้าที่ออกตรวจลาดตระเวน ในพื้นที่อุทยานฯ

  23. 2.3 การมีส่วนร่วมของประชาชนที่อยู่รอบแนวเขตอุทยานฯ ปลูกต้นไม้เนื่องในวันสำคัญต่างๆ ปฏิบัติงานด้านจิตวิทยามวลชน สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ฯ

  24. 2.11 เจ้าหน้าที่อุทยานฯ สนธิกำลังกับไฟป่าสระแก้ว ร่วมดับไฟป่า

  25. ปรับปรุงถนนแนวเขตอุทยานฯปรับปรุงถนนแนวเขตอุทยานฯ

  26. การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม สถิติคดี ปีงบประมาณ 2549 • สถิติคดีย้อนหลัง 3 ปี • - ปีงบประมาณ 2546 จำนวน 28 คดี ผู้ต้องหา 39 คน • - ปีงบประมาณ 2547 จำนวน 16 คดี ผู้ต้องหา 16 คน • ปีงบประมาณ 2548 จำนวน 19 คดี ผู้ต้องหา 19 คน • - ปีงบประมาณ 2549 จำนวน 13 คดี ผู้ต้องหา 11 คน

  27. 2.8 การฝึกอบรมทบทวนระเบียบวินัยเจ้าหน้าที่

  28. 2.17 การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการป้องกันและปราบปราม อุทยานแห่งชาติปางสีดา

  29. 3. ด้านวิชาการ โครงการคืนจระเข้สู่ผืนป่าปางสีดา(ต่อเนื่อง)

  30. 3.1 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการอนุรักษ์อุทยานแห่งชาติปางสีดา ระยะที่ 2: กิจกรรมต่อเนื่องหลังฝึกอบรม (มิถุนายน 2549 – กุมภาพันธ์ 2551) • กิจกรรมในชุมชน • เก็บข้อมูลด้านสังคม – เศรษฐกิจชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติปางสีดา • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน/ชุมชน • เวทีชาวบ้าน • ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนพัฒนาชุมชนด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม

  31. โครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรมโครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรม

  32. โครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรมโครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรม

  33. โครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรมโครงการ/กิจกรรมทั้งหมดที่จะดำเนินการหลังการฝึกอบรม 20 2

  34. 3.4 ความร่วมมือด้านการศึกษาวิจัย ร่วมกับสถานีประมงน้ำจืดสระแก้ว สำรวจพันธุ์ปลา ส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับพันธุ์ไม้

  35. 3.5 การจัดทำฐานข้อมูลด้านวิชาการ ทำฐานข้อมูลวิชาการดังนี้ 1 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2 สัตว์ครึ่งบกครึ้งน้ำ 3 สัตว์เลื้อยคลาน 4 นก 5 ผีเสื้อ มีฐานข้อมูลความหลากหลายชีวภาพ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ หัวใจดงพญาเย็น

  36. 3.8 จัดทำนิทรรศการให้ความรู้ด้านวิชาการกับนักท่องเที่ยว ปรับปรุงนิทรรศการภายในศูนย์บริการ ฯ จัดทำตู้รับแสดงความคิดเห็นของนักท่องเที่ยว

  37. 3.11 การอบรมเยาวชนให้ความรู้ด้านวิชาการ จัดกิจกรรมเสื้อเขียวพิทักษ์ความสะอาด ทำปุ๋ยคอก ทำความสะอาดห้องน้ำ ใช้สารสกัดชีวภาพ E.M. ช่วยกันเก็บขยะ

  38. 3.13 กิจกรรมด้านสื่อความหมายธรรมชาติ เสริมโป่งเทียมเพิ่มธาตุอาหารให้สัตว์ป่า จัดทำป้ายสื่อความหมาย จัดทำโป่งผีเสื้อ

  39. 4. การบริการและการท่องเที่ยว ปรับปรุงสถานที่จอดรถ ปรับปรุงเพิ่มเติมร้านขายของที่ระลึก ปรับปรุงอาคารประกอบอาหาร ปรับปรุงร้านอาหาร

  40. 4.6 ปรับปรุงภูมิทรรศ ปรับปรุงสำนักงาน ปรับปรุงด่านเก็บค่าธรรมเนียม ปรับปรุงถนน สาย 3462 ปรับปรุงอาคารเอนกประสงค์ ปรับปรุงลานกางเต็นท์ ปรับปรุงถนนทางเข้าศูนย์ ฯ

  41. 4.16 การให้ความช่วยเหลือนักท่องเที่ยวเมื่อประสพอุบัติเหตุ

  42. ขอขอบคุณ

More Related