1 / 12

CIPP Model : การประกันคุณภาพ

CIPP Model : การประกันคุณภาพ. เสนอต่อ ผศ.ดร. ฤตินันท์ สมุทร์ทัย กระบวนวิชา 055720. สตัฟเฟิลบีม.

kristy
Download Presentation

CIPP Model : การประกันคุณภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CIPP Model : การประกันคุณภาพ เสนอต่อ ผศ.ดร. ฤตินันท์สมุทร์ทัย กระบวนวิชา 055720

  2. สตัฟเฟิลบีม ในปี ค.ศ. 1971 สตัฟเฟิลบีมและคณะได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ชื่อ “Educational Evaluation and decision Making” ได้ให้แนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผลการศึกษาได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากนั้น สตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับการประเมินและรูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง ผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า CIPP Model ความเป็นมา

  3. ประเด็นการประเมินตามรูปแบบ CIPP Model C I P P

  4. บริบท (Context) สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องการการผลิต หรือการดำเนินงานต่างๆ เช่น กฎหมาย สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งบริบทเหล่าจะเอื้อให้กับการดำเนินงานนั้น หรือขัดขวางการดำเนินงานนั้นเพียงไร การจัดการควบคุมบริบทต่าง ๆ ให้ได้ก็จะเป็นปัจจัยความสำเร็จของงานอย่างหนึ่ง ประเด็นการประเมินตามรูปแบบCIPP Model หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์เป้าหมายการเตรียมการก่อนการดำเนินการ (การเตรียมการภายใน)

  5. ปัจจัยนำเข้า (Input) เป็นการควบคุมคุณภาพของปัจจัยนำเข้าให้เพียงพอ และมีคุณภาพ โดยแนวคิดของสตัฟเฟิลบีม เชื่อว่าหากมีการจัดการให้ตัวป้อน หรือปัจจัยนำเข้า มีเพียงพอและมีคุณภาพ จะส่งผลให้เกิดประสิทธิผลของงาน บุคลากร ใครบ้าง อย่างละกี่คน วัสดุอุปกรณ์ อะไรบ้าง จำนวนเท่าใด เครื่องมือเครื่องใช้ อะไรบ้าง จำนวนเท่าใด อาคารสถานที่ ที่ไหนระบุให้ชัดเจน งบประมาณ จากแหล่งไหน จำแนกตามหมวดการใช้จ่าย แต่ละหมวดจำนวนเท่าไร

  6. กระบวนการ (Process) เป็นการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผน หรือทำให้เกิดการผลิต ทั้งนี้ แม้ว่าจะมีการป้อนปัจจัยนำเข้าที่ดี แต่ว่าหากกระบวนการผลิตไม่เป็นไปตามขั้นตอน ขาดคุณภาพ หรือไม่เหมาะสมก็ไม่สามารถจะควบคุมให้เกิดผลงานที่ดีออกมาได้ กระบวนการดำเนินการ ตั้งแต่ก่อนดำเนินการ ตามลำดับก่อนหลัง ทุกขั้นตอน การนิเทศ กำกับ และติดตามประเมินผล

  7. ผลผลิต (Product) หรือผลิตภัณฑ์ที่ออกมาจากกระบวนการผลิต ซึ่งผลนี้เป็นสิ่งที่คาดหวังจากการส่งตัวป้อน และดำเนินการผลิต ผลผลิตนี้จะแสดงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการควบคุม บริหารจัดการทั้งหมดในแนวคิดเชิงระบบ

  8. ตัวอย่างการประกันคุณภาพทางการศึกษาที่นำรูปแบบ CIPP MODEL

  9. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประทุมอนุสรณ์ โดยใช้ CIPP Model ผู้วิจัยนงนภัส บุญเหลือ การวิจัย กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ดังนี้ คือ เพื่อประเมินหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประทุมอนุสรณ์ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต ด้านผลกระทบ และด้านประสิทธิผล โดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตรแบบ CIPP Model ตัวอย่างงานวิจัย

  10. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 190 คน ประกอบไปด้วย ผู้บริหาร จำนวน 4 คน ครูผู้สอนจำนวน 5 คน คณะกรรมการสถานศึกษาจำนวน 14 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 82 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 85คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามผู้เรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา แบบสัมภาษณ์และแบบวิเคราะห์เอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา

  11. ผลการวิจัย • หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประทุมอนุสรณ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านประสิทธิผล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านผลกระทบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง • ด้านบริบทหลักสูตร พบว่า ปรัชญา วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร สาระการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมีความเหมาะสมในระดับมาก

  12. 3. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า คุณสมบัติของผู้เรียน ครูผู้สอนและผู้บริหาร สื่อวัสดุอุปกรณ์ • งบประมาณ อาคารสถานที่และเวลาเรียน มีความเหมาะสมในระดับมาก แต่ควรปรับปรุงจำนวนเวลาเรียน • 4. ด้านกระบวนการ พบว่า การบริหารหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษาและการนิเทศ • ติดตามผล มีความเหมาะสมในระดับมาก แต่ควรปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล • 5. ด้านผลผลิต พบว่า ผลการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และความพึงพอใจต่อผลงานทางวิทยาศาสตร์ มีความเหมาะสมในระดับมาก แต่ควรปรับปรุงความสามารถในการนำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจำวัน

More Related