1 / 91

บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ แนวโน้ม นโยบาย และความก้าวหน้า

บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ แนวโน้ม นโยบาย และความก้าวหน้า. สมจิต หนุเจริญกุล RN., Ph.D. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. การรฟื้นฟูวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓. แหล่งประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ

kuri
Download Presentation

บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ แนวโน้ม นโยบาย และความก้าวหน้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติบทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ แนวโน้ม นโยบาย และความก้าวหน้า สมจิต หนุเจริญกุล RN., Ph.D. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล การรฟื้นฟูวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ Somchit Hanucharurnkul

  2. แหล่งประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจแหล่งประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ • รายได้ของประชาชาติ • % ที่ใช้สำหรับสุขภาพ • งบประมาณทั้งหมดสำหรับสุขภาพ • ปัจจัยทางด้านการเมือง สังคม และวัฒนธรรม • ฐานะและการศึกษาของผู้หญิงพยาบาล • พันธะของนักการเมือง • จริยธรรม ทิศทางและแนวโน้ม วิชาชีพการพยาบาล/ พยาบาลเวชปฏิบัติ • ระบบบริการสุขภาพ • ทิศทาง/นโยบาย • ความรู้เทคโนโลยี • กระบวนทัศน์ แหล่งประโยชน์ ทางด้านบุคลากร สุขภาพกำลังคน การกระจาย องค์กรวิชาชีพ กฏหมายและ การควบคุม ผู้นำทางการพยาบาล ประชากรและ ปัญหาสุขภาพ Somchit Hanucharurnkul

  3. ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชน 1. การเพิ่มจำนวนโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อน เสียค่าใช้จ่ายสูง 2. การเปลี่ยนแปลงลักษณะของประชากร การเพิ่มประชากรผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๓ คาดว่าจะสูง ถึง ๑๕.๓ ล้านคน Somchit Hanucharurnkul

  4. อุบัติการของโรคเรื้อรังอุบัติการของโรคเรื้อรัง • ค.ศ2020 (2563) อัตราการตายจากโรคเรื้อรังสูงถึง 73% ของการตายทั้งหมดและ60% ของโรคที่เป็นภาระทั้งหมด • และ79% ของการตายจากโรคเรื้อรังเกิดในประเทศที่กำลังพัฒนา (World Health Organization, 2010). Somchit Hanucharurnkul

  5. Four major burden chronic diseases • cardiovascular disease, • cancer, • chronic obstructive pulmonary disease, and • type 2 diabetes. (World Health Organization, 2010). Somchit Hanucharurnkul

  6. ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชน 3.ปัญหาเด็กและเยาวชน พฤติกรรมสุขภาพ สารเสพติด unsafe sex การตั้งครรภ์วัยรุ่น 4.ปัญหาสุขภาพมารดา และทารก ความรุนแรงในครอบครัว Somchit Hanucharurnkul

  7. วิกฤตระบบสุขภาพ 5. การเกิดภัยพิบัติ ทั้งจากธรรมชาติ และ จากมนุษย์ 6. ร.พ. ทั่วไป ร.พ. ศูนย์ ร.พ. จังหวัด แน่นแออัด 7.ความคาดหวังของประชาชนต่อการบริการสุขภาพสูงขึ้น Somchit Hanucharurnkul ICN 2007

  8. วิกฤตระบบสุขภาพ 8. การขาดแคลนกำลังคน การขาดแคลนแพทย์ ทั้งจำนวน และการกระจาย ขาดแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ขาดวิสัญญีแพทย์ มี 700 คน ขาดจิตแพทย์ การขาดแคลนพยาบาล และ การขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาล Somchit Hanucharurnkul

  9. Holistic Model Paradigm Shift Biomedical Model Somchit Hanucharurnkul

  10. Spiritual Health Social Health Psychological Health Physical Health Concept of health Somchit Hanucharurnkul (Prawes Wasri, 2000)

  11. Paradigm Shift Acute care philosophy Primary Care, Community Setting Somchit Hanucharurnkul

  12. Acute care setting Acute care philosophy Disease & Pathology Cure Somchit Hanucharurnkul

  13. Traditional Practice Model Physician Registered Nurses Auxiliary Personnel Patients/Family Somchit Hanucharurnkul

  14. Primary care / community setting Self-care philosophy Patient participatory philosophy Health & Quality of Life (Holism) Maximize internal & external resources for health, healing and peaceful dead Somchit Hanucharurnkul

  15. Collaborative Practice Model Physician Registered Nurse Auxiliary Personnel Patients/ Family Somchit Hanucharurnkul

  16. การเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพการเปลี่ยนแปลงระบบบริการสุขภาพ • Managed care– continuity จาก โรงพยาบาล สู่บ้าน • Home care, ambulatory care and day surgery • People receive most of their care in their communities • Families, friends and caregivers are trust into caregiver roles. Somchit Hanucharurnkul

  17. ระบบสุขภาพ:สร้างระบบบริการที่สุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับบริการระบบสุขภาพ:สร้างระบบบริการที่สุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ • สร้างระบบบริการปฐมภูมิเชิงรุกที่มีคุณภาพและเป็นที่ศรัทธาเชื่อถือในชุมชนเพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาล • สร้างระบบงานที่ทำให้แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์มีกำลังใจ ได้รับความชื่นชม และมีความสุขจากการทำงาน Somchit Hanucharurnkul

  18. การพัฒนาการพยาบาลเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะวิกฤติสุขภาพการพัฒนาการพยาบาลเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะวิกฤติสุขภาพ • การขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาล • การเพิ่มการผลิตพยาบาล • การพัฒนาและการใช้ศักยภาพของพยาบาล อย่างเต็มความสามารถ • การจัดระบบการพยาบาล Somchit Hanucharurnkul

  19. ความจำเป็นของการขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาลความจำเป็นของการขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาล • 1.เพื่อขจัดอุปสรรคที่ขัดขวางการเข้าถึงบริการสุขภาพ • 2. การเพิ่มความต้องการบริการพยาบาลที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน Somchit Hanucharurnkul

  20. ความจำเป็นของการขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาลความจำเป็นของการขยายขอบเขตของการปฏิบัติการพยาบาล 3.ความต้องการการพยาบาลที่บ้านซึ่งผู้ป่วยต้องการการดูแลที่ซับซ้อนขึ้น 4. ความต้องการความก้าวหน้าในวิชาชีพ 5. อัตราการเกิดโรคต่างๆ ของโลกและของแต่ละประเทศเพิ่มขึ้น Somchit Hanucharurnkul

  21. การแก้ปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าที่สุขภาพการแก้ปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าที่สุขภาพ • การจัดทีมสุขภาพวิธีใหม่ • ต้องแก้ไขจารีตประเพณีที่แต่ละวิชาชีพปิดขอบเขตของการปฏิบัติของวิชาชีพมากเกินไป Somchit Hanucharurnkul

  22. การแก้ปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าที่สุขภาพการแก้ปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าที่สุขภาพ • Task shift • ทักษะบางอย่างที่อยู่ภายใต้ขอบเขตของวิชาชีพแพทย์ อาจเป็นสิ่งที่วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ปฏิบัติอยู่แล้วเป็นประจำ • บทบาทบางอย่างของวิชาชีพการพยาบาลอาจกระทำโดยผู้ช่วยพยาบาล / ผู้ช่วยเหลือดูแล Somchit Hanucharurnkul

  23. เป้าหมายของการวางแผนกำลังคนทางด้านพยาบาลเป้าหมายของการวางแผนกำลังคนทางด้านพยาบาล • เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีพยาบาลที่มีความรู้และทักษะตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการในสถานบริการต่างๆ และพยาบาลเหล่านั้นต้องมีเอกสิทธิ์และได้รับการยอมรับที่เหมาะสม • การมี Advanced Practice Nurse (APN) Somchit Hanucharurnkul

  24. Skill Mixed Teamของพยาบาล - พยาบาลทั่วไป -พยาบาลเฉพาะทาง -ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง CNS ตามกลุ่มผู้ป่วยที่ซับซ้อน วิสัญญีพยาบาล ผดุงครรภ์ Somchit Hanucharurnkul

  25. Skill Mixed Teamของพยาบาล • พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (เฉพาะทาง) พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (APN) • ผู้ช่วยพยาบาล • ผู้ช่วยเหลือดูแล • ผู้บริหารจัดการทางการพยาบาล • อาจารย์พยาบาล/นักวิจัย Somchit Hanucharurnkul

  26. เป้าหมายของการวางแผนกำลังคนทางด้านพยาบาลเป้าหมายของการวางแผนกำลังคนทางด้านพยาบาล • เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีพยาบาลที่มีความรู้และทักษะตรงกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการในสถานบริการต่างๆ และพยาบาลเหล่านั้นต้องมีเอกสิทธิ์และได้รับการยอมรับที่เหมาะสม (Affar & Styles, 1992 p.80) Somchit Hanucharurnkul

  27. การสร้างความเข้มแข็งของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิการสร้างความเข้มแข็งของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ • เป็นพื้นฐานในการปรับปรุงคุณภาพการบริการในทุกระดับ • เป็นการลดความแออัดในโรงพยาบาล • เป็นการประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพถ้วนหน้าของประชาชนทุกคน ด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม และ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ยอมรับได้ Somchit Hanucharurnkul

  28. “ในระดับนานาชาติมีหลักฐานชี้ชัดว่าประเทศที่มีการสาธารณสุขมูลฐานที่เข้มแข็ง มีผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดี และมีประสิทธิภาพกว่า ประชาชนมีความเท่าเทียมในการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพมากกว่าค่าบริการสุขภาพต่ำกว่า และผู้ใช้บริการสุขภาพมีความพึงพอใจมากกว่าประเทศที่มีการสาธารณสุขมูลฐานอ่อนแอกว่า” (Pan American Health Organization, 2007) Somchit Hanucharurnkul

  29. วิวัฒนาการการบริการปฐมภูมิในประเทศไทยวิวัฒนาการการบริการปฐมภูมิในประเทศไทย • สุขศาลา • สถานีอนามัย • บริการปฐมภูมิ PCU • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล Somchit Hanucharurnkul

  30. ร.พ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล (ร.ส.ต. ) • มุ่งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การบาดเจ็บ โดยมีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และหน่วยบริการสุขภาพอื่นในตำบลข้างเคียง • ให้การรักษาพยาบาล • สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ Somchit Hanucharurnkul

  31. นโยบายของรัฐบาลต้องชัดเจนนโยบายของรัฐบาลต้องชัดเจน • มีพยาบาลเวชปฏิบัติทุกสถานีอนามัย / ปฐมภูมิ ร.พ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล (ร.ส.ต. ) • ต้องการ NP21,494คน ขณะนี้มี 10,797 คน Somchit Hanucharurnkul

  32. พัฒนาการและการเตรียมพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทยพัฒนาการและการเตรียมพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทย Somchit Hanucharurnkul

  33. หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทยหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทย มหาวิทยาลัยมหิดล • 2516- 29 อนุปริญญาพยาบาลสาธารณสุขเวชปฏิบัติ 1 ปี จำนวนทั้งสิ้น 655 คน • 2521-2530 หลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลเวชปฏิบัติ 6 เดือน เน้นหนักด้านการรักษาพยาบาลขั้นต้น รวม 371 คน • 2535-2538 หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาการพยาบาลสาธารณสุขเวชปฏิบัติ หลักสูตร 1 ปี จำนวน 39 คน Somchit Hanucharurnkul

  34. หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทยหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติในประเทศไทย รามาธิบดี • 2521-2533 หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา 6 เดือน • 2524 หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป 6 เดือน • 2527 หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด 6 เดือน • 2530 หลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทั้งหมด 4 เดือน Somchit Hanucharurnkul

  35. การขับเคลื่อนของสภาการพยาบาลการขับเคลื่อนของสภาการพยาบาล พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 มาตรา 4 (3) การกระทำการตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น การให้ภูมิคุ้มกันโรค และการวางแผนครอบครัว Somchit Hanucharurnkul

  36. สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน 1. การมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ 2. การมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบาย ด้านสุขภาพของประเทศ 3. การมีส่วนร่วมในการปรับระบบบริการ สุขภาพ Somchit Hanucharurnkul

  37. สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน (ต่อ) 4. การดำเนินการให้ผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ สามารถ บริการวิชาชีพได้อย่างอิสระ และมี กฎหมายคุ้มครอง Somchit Hanucharurnkul

  38. สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์สภาการพยาบาลกับยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน (ต่อ) 5. การกำกับคุณภาพงานบริการ 6. การพัฒนาศักยภาพพยาบาลชุมชน (Capacity Building) Somchit Hanucharurnkul

  39. TNC’S movement and strategies • Effectiveness of primary care services provided at a Nurses’ Private Clinic. Somchit Hanucharurnkul

  40. ทำไมพยาบาลจึงเหมาะสมในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิทำไมพยาบาลจึงเหมาะสมในการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 1. ค่าใช้จ่ายในการศึกษาพยาบาลน้อยกว่า 28,000 vs 300,000 4 ปี vs 6 ปี + 6 2. พยาบาลมีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยมาก่อน ถ้าอบรมเรื่องการรักษาโรคเบื้องต้นจะทำได้ดีกว่า Somchit Hanucharurnkul

  41. 3. พยาบาลส่วนใหญ่ มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร การสอน และการให้คำปรึกษา มีความเอื้ออาทร 4. จำนวนพยาบาลมีมากกว่า 150,000vs 30,000 Somchit Hanucharurnkul

  42. 5. การดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ไม่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงมากนัก แต่ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกับคนอื่นๆ 6. ใช้แพทย์ได้เหมาะสม กับที่ขาดอยู่แล้วอย่างมาก Somchit Hanucharurnkul

  43. ทัศนะของ Capra พยาบาลที่ได้รับการศึกษาที่ดี และมีแรงจูงใจสูง เป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดที่จะรับผิดชอบในฐานะ General practitioner ในการดูแลสุขภาพโดยทั่วไป การสอน และการให้คำปรึกษา การเข้าใจวิถีชีวิตของคน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค Somchit Hanucharurnkul

  44. พยาบาลเหล่านี้จะติดตามดูแลคนในชุมชนพยาบาลเหล่านี้จะติดตามดูแลคนในชุมชน และสามารถค้นพบความผิดปกติตั้งแต่ เริ่มแรก ให้การรักษาดูแลอย่างต่อเนื่อง ถ้าอยู่ในขอบเขตตามกฏหมาย และส่งต่อ Somchit Hanucharurnkul

  45. เป้าหมายของการมีพยาบาลเวชปฏิบัติ ที่ รพ.สต • ปรับปรุงการเข้าถึงระบบสุขภาพ • ปรับปรุงการป้องกันและจัดการโรคเรื้อรัง • ลดค่าใช้จ่าย • ปรับปรุงผลลัพธ์ของการบิการสุขภาพ Somchit Hanucharurnkul ICN 2007

  46. เป้าหมายของการมีพยาบาลเวชปฏิบัติ ที่PCU • ปรับปรุงการเฝ้าระวังโรค • ปรับปรุงการฟื้นหายจากการบาดเจ็บ กรณีฉุกเฉิน สาธารณภัย • ปรับปรุงการปฏิบัติตามแผนการรักษา • ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมในระดับปฐมภูมิ Somchit Hanucharurnkul ICN 2007

  47. บทบาทของ พยาบาลเวชปฏิบัติ หลักเศรษฐกิจ และสุขภาพพอเพียง ๑ ค้นหาช่วยเหลือผู้อ่อนแอ ด้อยโอกาส พิการ ถูกทอดทิ้ง ๒.รักษาโรคประจำถิ่น เจ็บป่วยเฉียบพลัน ๗ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓ จัดการให้ผู้ป่วย เรื้อรังได้รับการรักษา พยาบาลอย่างต่อเนื่อง Better Community Health Strong community ๖. การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ ๕.การเฝ้าระวัง และการควบคุมโรคเรื้อรัง/ระบาด ๔.การดูแลผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพา และผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน ผู้ป่วยระยะสุดท้าย สังคมที่เอื้อเฟื้อเจือจุน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน Somchit Hanucharurnkul

  48. ความสำเร็จของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในการดูแลโรคฮีโมฟีเลียภายใต้ทรัพยากรที่จำกัดความสำเร็จของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในการดูแลโรคฮีโมฟีเลียภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด • การวิเคราะห์สถานะการณ์ • การจัดตั้งเครือข่าย • การวางระบบ • การสอน เป็นพี่เลี้ยง และ ให้คำปรึกษา • การสร้างแนวปฏิบัติ จุฬารัตน์ สุริยาทัย Somchit Hanucharurnkul

  49. ผลลัพธ์ • ผู้ป่วยทั้งหมดได้ขึ้นทะเบียนตามโครงการของสปสช. • มีความรู้เกี่ยวกับฮีโมฟีเลียและการดูแลตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.83 • ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.50 • สามารถไปโรงเรียนได้ ทำงานได้ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล ความสำเร็จของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง จุฬารัตน์ สุริยาทัย Somchit Hanucharurnkul

  50. ผลลัพธ์ • ค่ารักษาลดลงร้อยละ 44.48 • ไม่มีรายงานการนอนรักษาในโรงพยาบาลจาก สาเหตุฮีโมฟีเลีย ยกเว้นสาเหตุฝากนอนหรือบ้าน ไกลจำนวน 2 ครั้ง • ความพึงพอใจของผู้รับบริการมีระดับความพึง พอใจร้อยละ 95.50 • ไม่มีรายงานความพิการของ joint disease เพิ่มขึ้น ความสำเร็จของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง จุฬารัตน์ สุริยาทัย Somchit Hanucharurnkul

More Related