450 likes | 1.13k Views
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม. กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง อีกรุ่นหนึ่งต่อๆไป - สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด , แต่ละ species จะมีลักษณะรูปร่าง และโครงสร้าง
E N D
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง อีกรุ่นหนึ่งต่อๆไป -สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด , แต่ละ species จะมีลักษณะรูปร่าง และโครงสร้าง เฉพาะตัวที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น - สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน , species เดียวกันมีลักษณะแตกต่างกัน น้อยกว่า สิ่งมีชีวิตต่างชนิด
- ลักษณะที่แตกต่างบางลักษณะสังเกตได้ง่าย เช่น รูปร่าง สีผม ติ่งหู • ลักษณะบางลักษณะสังเกตได้ยาก เช่น หมู่เลือด สติปัญญา • บางลักษณะปรากฏในรุ่นลูก • บางลักษณะไม่ปรากฏในรุ่นลูก
ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation ) 1.ความแปรผันต่อเนื่อง ( Continuous variation ) มีลักษณะดังนี้ - ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้เด่นชัด - ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน - ถูกควบคุมโดย gene หลายคู่ - สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออก - มีความเกี่ยวข้องทางด้านปริมาณ - กราฟแสดงความถี่ของลักษณะที่แตกต่างเป็นรูปโค้งปกติ - ตัวอย่าง ความสูง น้ำหนัก สติปัญญา ความสามารถในการ ให้ ผลผลิต
2. ความแปรผันไม่ต่อเนื่อง ( Discontinuous variation ) มีลักษณะดังนี้ - มีความแตกต่างชัดเจน - ถูกควบคุมโดย gene น้อยคู่ - สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการแสดงออกน้อยมาก - มีความเกี่ยวข้องทางด้านคุณภาพ - กราฟความถี่ของลักษณะที่แตกต่าง จะได้กราฟรูปแท่ง - ตัวอย่าง หมู่เลือด ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้น
คำศัพท์ที่ควรรู้ 1. Gamete 2. Gene 3. Allele P P homozygous for the dominant allele a a homozygous for the recessive allele B b heterozygous recessive allele , dominant allele
4. Genotype การเขียน TT , Tt , tt หรือ T/T , T/t , t/t Genotype มี 2 แบบ คือ - homozygous genotype – homozygous dominant - homozygous recessive - heterozygous genotype 5. Phenotype 6. Dominant 7. Recessive
ลักษณะทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมลักษณะทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อลักษณะทางพันธุกรรมมาก – น้อยขึ้น กับขั้นตอนที่ทำให้เกิดลักษณะนั้นๆ เช่น - ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมนั้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่าง ลักษณะนั้นมโอกาสได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมมาก เช่น ความสูง สติปัญญาปริมาณการให้น้ำนมของโค - ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมนั้นเป็นลักษณะที่เกิดจากปฏิกิริยาภายในเซลล์ความผิดปกติภายในเซลล์ สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลน้อย เช่นลักษณะผิวเผือก ตาบอดสี หมู่เลือด
ประวัติและผลงานของเมนเดลประวัติและผลงานของเมนเดล
Unit factor เมนเดลพบว่า ลักษณะต่างๆของถั่วลันเตาถูกควบคุมโดยพันธุกรรม 2 หน่วย ธรรมชาติของต้นถั่วลันเตา 1. อายุสั้น ปลูกง่าย ผลดก เมล็ดมาก 2. มีลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน 3. โครงสร้างดอกไม่เปิดโอกาสให้มีการผสมข้ามต้น ความสำเร็จของเมนเดล 1. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาถูกควบคุมโดย gene 1 คู่ 2. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาจะแตกต่างกันอย่างชัดเจน 3. ใช้พืชที่หาได้ง่าย 4. ใช้พ่อ – แม่พันธุ์เป็นพันธุ์แท้ 5. เป็นนักคณิตศาสตร์
สรุปการทดลองของเมนเดลสรุปการทดลองของเมนเดล 1. รุ่นพ่อ – แม่ แทนด้วย P = Parential generation รุ่นลูก ,, F1 = first filial generation รุ่นหลาน ,,F2 = second generation 2. สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เมนเดลเรียก factor 3. ลูก F1จะมีลักษณะที่ปรากฏเหมือนกันหมด 4. ลูกเกิดจากการรวมตัวของ gene จาก พ่อ – แม่ อย่างละครึ่ง 5. เรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F1 ว่า Dominant เรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2ว่า Recissive 6. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F1: ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 = 3 : 1
กฎของเมนเดล • Law of segregation P TT x tt gamete PTt x Tt gamete T T t t T t T t
2. Law of independent assortment เซลล์สืบพันธุ์ที่แยกจากกันช่วงการสร้างเซลล์สืบพันธุ์สามารถรวมกันใหม่ได้อย่างอิสระ ดังนี้ P Tt x Tt gamete F1 TT Tt Tt tt T t T t
Test – cross เป็นการผสมเพื่อที่จะทดสอบ genotype ของสิ่งมีชีวิตว่าเป็น พันธุ์แท้ หรือพันธุ์ทาง โดยนำไปผสมกับ Homozygous recessive ดังนี้ เมล็ดกลม - RR หรือ Rr เมล็ดกลม x rr เมล็ดกลม x rr เมล็ดกลม เมล็ดกลม : เมล็ดขรุขระ . . เมล็ดกลม = RR 1 : 1 เมล็ดกลม = Rr
Back cross เป็นการผสมพันธุ์โดยการนำลูกผสม F1 กลับไปผสมกับ พ่อ หรือ แม่ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะเดียว ( Monohybrid cross )
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 2 ลักษณะ( Dihybrid cross ) - เป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยพิจารณาลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 2 ลักษณะพร้อมกัน - ในการพิจารณาหาสัดส่วน genotype ,phenotype ทำได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. Punnet Squares ให้ R = geneที่ควบคุมลักษณะเมล็ดกลม r = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ Y = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเหลือง y = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเขียว
P ถั่วเมล็ดกลมสีเหลือง x ถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียว RRYY rryy gamete Ry ry F1 RrYy F1xF1 RrYy x RrYy Gamete R Y - RY R Y - RY y - Ry y - Ry r Y - rY r Y - rY y - ry y - ry
สรุป 1. genotype มี 9 ชนิด 2. อัตราส่วน genotype 1 : 2 : 2 : 4 : 1 : 2 : 1 : 2 : 1 3. phenotype มี 4 ชนิด 4. อัตราส่วน phenotype 9 : 3 : 3 : 1
2. Branching system P ถั่วเมล็ดกลม – เหลือง x ถั่วเมล็ดขรุขระ - เขียว RRYY rryy gamete RY ry F1 RrYy F1 x F1 RrYyRrYy RrRr YyYy gamete ¼ RR : 2/4 Rr : ¼ rr ¼ YY : 2/4 Yy : ¼ yy
3. โดยการใช้สูตร -จำนวน ชนิด gamete = 2n -จำนวน ชนิด genotype = 3n -จำนวน ชนิด phenotype = 2n
Aa BB Cc • Aa Bb Cc DD Ee FF
รูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมรูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 1. ถ่ายทอดลักษณะแบบ Complete Dominant เป็นการถ่ายทอดลักษณะโดย gene เด่นสามารถข่ม gene ด้อยได้ สมบูรณ์ เป็นไปตามกฎเมนเดล ดังนี้ F1 เป็นลักษณะเด่นหมด F2 เป็นลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย = 3 : 1 = 9 : 3 : 3 : 1
2. ถ่ายทอดลักษณะแบบ Incomplete Dominant 2.1 การถ่ายทอดลักษณะสีดอกบานเย็น F1 genotype = Aa สีชมพู หมด F2 genotype AA : Aa : aa = 1 : 2 : 1 phenotype สีแดง : สีชมพู : สีขาว = 1 : 2 : 1
2.2 การถ่ายทอดสีขนของไก่พันธุ์ Andalusion blue
2.3 การถ่ายทอดลักษณะสีขนของโค 2.4 การถ่ายทอดลักษณะสีดอกลิ้นมังกร
การถ่ายทอดลักษณะแบบ Co – dominant ในกรณีนี้ gene ทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและ กัน แต่สามารถแสดงความเด่นได้เท่าๆกัน จึงปรากฏ ลักษณะออกมาร่วมกัน เช่น หมู่เลือด ABO alleleที่เกี่ยวข้องมี IA , IBและ i ปกติ gr A มี genotype IA IA, IA i gr B ,, IB IB , IB i gr AB ,, IA IB gr ii มีgenotype ii
การถ่ายทอดลักษณะแบบ Over dominant เกิดจาก allele ในสภาพ heterozygous จะแสดงลักษณะ Phenotype เหนือกว่า allele ในสภาพ homozygous ของ พ่อ – แม่ เช่น P TT สูง 3 ฟุต tt สูง 1 ฟุต F Tt สูง 6 ฟุต
Multiple allele กลุ่มallele ที่มี gene เกินกว่า 2 แบบขึ้นไป ที่ควบคุมการ แสดงออกของลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยที่ gene ดังกล่าว มีตำแหน่งอยู่บน chromosome ที่เป็น homologous กัน ต.ย 1. พันธุกรรมของหมู่เลือด ABO หมู่เลือด ABO มี gene ควบคุม 3 allele คือ IA, IB และ ii IA = allele ที่ควบคุมการสร้าง antigen A IB = allele ที่ควบคุมการสร้าง antigen B