810 likes | 1.76k Views
ค่านิยม & วัฒนธรรม เพื่อความยั่งยืนขององค์กร. วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555. วัตถุประสงค์. เข้าใจที่มาของวัฒนธรรม กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมองค์กร เข้าใจค่านิยม และ การประยุกต์ใช้ ตัวอย่างการปฎิบัติอย่างเป็นรูปธรรม Best Practices from other industry. วัฒนธรรมองค์กร.
E N D
ค่านิยม &วัฒนธรรมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555
วัตถุประสงค์ • เข้าใจที่มาของวัฒนธรรม • กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมองค์กร • เข้าใจค่านิยม และ การประยุกต์ใช้ • ตัวอย่างการปฎิบัติอย่างเป็นรูปธรรม • Best Practicesfrom other industry
วัฒนธรรมองค์กร หมายถึงแบบแผนพฤติกรรมที่บุคลากรในองค์กรยึดถือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติที่มีพื้นฐานมาจาก ความเชื่อ ค่านิยม และเป็นสิ่งที่องค์กรคาดหวังจากผู้ปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ วัฒนธรรมองค์กร เปรียบเสมือนภูมิคุ้มกัน ทำหน้าที่ 2 อย่าง: • หล่อหลอมคนใหม่มาเสริมความแข็งแกร่ง • ป้องกันความเสี่ยงหรือดักจับสิ่งผิดปกติ กำจัดพฤติกรรมที่ไม่ดี
วัฒนธรรมองค์กร มี 2 ระดับ • วัฒนธรรมที่พึงเห็นได้ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานในองค์กรได้กำหนดขึ้นอย่างชัดเจน และรวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออก เช่น การแต่งกาย การกระทำ สัญลักษณ์ เรื่องราว และประเพณี • วัฒนธรรมที่อยู่ลึกในจิตใจ* ของสมาชิกองค์กร
วัฒนธรรมที่พึงเห็นได้วัฒนธรรมที่พึงเห็นได้
*วัฒนธรรมที่อยู่ลึกในจิตใจ*วัฒนธรรมที่อยู่ลึกในจิตใจ • ค่านิยม (Value)เป็นสิ่งที่องค์กรพึงปรารถนาต้องปลูกฝังให้สมาชิก • ฐานคติ (Assumption)หมายถึง ความเชื่อ หรือความรู้สึกว่าสิ่งนั้นเป็นความจริง หรือสิ่งนั้นจะเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าไม่มีการพิสูจน์ • ความเชื่อ (Belief)เป็นสิ่งที่สมาชิกในองค์กรยึดถือว่าเป็นความจริง ถึงแม้ว่าจะไม่แน่ใจ
ก่อนเข้าสู่การสร้างวัฒนธรรมก่อนเข้าสู่การสร้างวัฒนธรรม การสร้างวัฒนธรรมสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง คือ แนวปฏิบัตินั้นต้องสอดคล้องกับบทบาท ภารกิจที่องค์กรดำเนินการอยู่ หรืออยู่ในสถานะที่องค์กรกำลังจะมุ่งไปสู่เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
ค่านิยม (Value) ค่านิยม(Value) คือ บรรทัดฐานในการกำหนดความถูก ความผิดของพฤติกรรมทั้งหลาย คือ กฎเกณฑ์ทั้งหลายในองค์กรที่มีคนหมู่มาก ทำงานด้วยกัน ประพฤติปฏิบัติเหมือน ๆกัน จนเป็นลักษณะเฉพาะของคนในหน่วยงานนั้น
ค่านิยมกรมส่งเสริมสหกรณ์ค่านิยมกรมส่งเสริมสหกรณ์ • ริเริ่มสร้างสรรค์C :Creative thinking • มุ่งมั่นฟันฝ่าP :Proactive working • พัฒนาสหกรณ์D :Develop Cooperatives
ค่านิยม (Value) ...(ต่อ)... คือสิ่งที่องค์กรปรารถนาต้องปลูกฝังให้สมาชิก • บุคลิกประจำหน่วยงานเป็นการแสดงออกอย่างหนึ่งของค่านิยมองค์กร หรือหน่วยงาน • การสร้างค่านิยมที่เหมาะกับพันธกิจ วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ขององค์กร เป็นแรงผลักดันให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์
เปรียบเทียบจิตใจกับภูเขาน้ำแข็งเปรียบเทียบจิตใจกับภูเขาน้ำแข็ง
ริเริ่มสร้างสรรค์(Creative thinking: C) ความหมาย บุคลากรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์คิดหาแนวทางใหม่ๆ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน พัฒนาตนเองและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
6 C • Creative Mind: ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ในทุก ๆ ด้านและสามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทุกโอกาสและสถานการณ์ • Creative Design and Innovation: ส่งเสริมให้มีนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบสินค้าและบริการในรูปแบบใหม่ รวมไปถึงการปรับโครงสร้างองค์กรอย่างสร้างสรรค์ • Creative Product and Service:การเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ ที่สามารถดึงดูดใจกลุ่มลูกค้าเก่า และกลุ่มลูกค้าใหม่ด้วยการขยายส่วนแบ่งการตลาด (Segmentation) • Creative Marketing:ทำการตลาดอย่างสร้างสรรค์ ในการเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่ม • Creative Communication:ใช้เครื่องมือสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ และครบวงจร • Creative Management:การบริหารจัดการอย่างสร้างสรรค์
การคิดแบบหมวก 6 ใบ • หมวกสีขาว : จะเป็นหมวกที่จะกล่าวถึง ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงเท่านั้น จะคิดแค่ว่า "ตอนนี้ประเทศไทยมีการละเมิดลิขสิขสิทธิ์เยอะมากแต่ก็ไม่ได้สนใจอะไร" • หมวกสีแดง : จะเน้นด้าน อารมณ์ & ความรู้สึก เช่นอาจจะเป็นความรู้สึกถึงผลกระทบและต้องการแสดงความคิดของตนต่อเหตุการณ์นั้นๆ • หมวกสีดำ : จะเป็นด้านความผิดพลาด จุดด้อยของเรื่องนั้นๆ โดยจะมองในแต่ด้านลบอย่างเดียว • หมวกสีเหลือง : จะเป็นการคิดในด้านที่เป็นประโยชน์ คุณค่า และความคิดเชิงบวก • หมวกสีเขียว : เป็นหมวกแห่งความคิดสร้างสรรค์ ความคิดแปลกใหม่ • หมวกสีน้ำเงิน : เป็นการสรุปเรื่องราวทั้งหมด เหมือนหัวหน้ากลุ่ม
จากภาพ ให้ดูสี ทีละสี ๆ แล้วให้อ่านออกเสียงดัง ๆ ว่าเป็นสีอะไร (ห้ามอ่านตัวหนังสือ)
อุปสรรค์ของความคิดสร้างสรรค์ • ตั้งแต่การเลี้ยงดูของบิดา มารดา ที่อาจไม่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ • วัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมที่สืบต่อกันมา ทำให้ไม่กล้าซักถาม • การทำตามกันมา คิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างมีคำตอบเดียว ทำตามความเคยชิน ไม่สนสิ่งที่ท้าทาย ด่วนสรุปความคิดเร็วเกินไป • กลัวเป็นคนประหลาดไม่เหมือนผู้อื่น • มีอคติ • ยึดมั่นความคิดเดิม • ไม่ยอมรับความคิดเห็นใหม่ๆ • เฉื่อยชา เกียจคร้าน
8นิสัยที่สกัดกั้นความคิดสร้างสรรค์8นิสัยที่สกัดกั้นความคิดสร้างสรรค์ • ไม่ช่างสังเกต • เห็นพ้องไปกับคนอื่นๆ ทั้งที่ไม่เห็นด้วย • คิดไปก่อนแล้วว่า “เป็นไปไม่ได้ มันทำไม่ได้” • ทำอะไรซ้ำๆ สิ่งจำเจเป็นอาการดื้อยาของสมอง เจอบ่อยๆ • ไม่ชอบแสดงความคิดเห็น มาพร้อมกับการเห็นพ้องไปกับคนอื่นๆ ทั้งที่ไม่เห็นด้วย หรือบางทียิ่งแย่ไปกว่านั้นเพราะ แทบที่จะไม่ได้คิดอะไรเลยด้วยซ้ำ • ไม่ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น • ยึดติดกับความรู้เดิมๆ หรือประสบการณ์เดิมๆ • อยากรู้หรือสงสัยแต่ไม่ถาม
บทบาทของผู้นำในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ • จัดบรรยากาศเอื้อต่อการคิดสร้างสรรค์ไม่เน้นระเบียบแบบแผน • ยืดหยุดด้านเวลา • ส่งเสริมให้ความคิดโดยตั้งคำถามแปลก ๆ • สนใจและเคารพในความคิดของผู้อื่น • จัดกิจกรรมหลากหลายชักชวนให้ผู้เรียนตะหนักว่า ทุกคำตอบไม่จำเป็นต้องถูกต้องเพียงคำตอบเดียว • ไม่ยึดติดกับตัวอย่างที่ดีที่สุด • ให้อิสระการเลือกทำกิจกรรม • ส่งเสริมคิดแบบเอกนัย (คิดริเริ่ม คิดคล่องแคล่ว คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ) • สร้างความสนใจแก่ผู้เรียน ให้ความสำคัญกับความคิดใหม่ๆ
8เคล็ดลับในการทำงานอย่างสร้างสรรค์8เคล็ดลับในการทำงานอย่างสร้างสรรค์ • การมีทัศนะคติในแง่บวกและสร้างสรรค์ • สวย-หล่อแบบมืออาชีพ (บุคลิคกภาพ) • เรียนรู้การทำงานแบบทีม • รู้จักชื่อเพื่อนร่วมงานเพื่อสร้างความประทับใจ • ขอความช่วยเหลือเมื่อคุณต้องการ • คุณเป็นคนเริ่มต้นการทำงาน • ทำงานอย่างเต็มเวลา มาให้เร็วและกลับให้ช้า • หลีกเลี่ยงการซุบซิบนินทาในที่ทำงาน
คุณมีโซ่อยู่ 5 เส้น แต่ละเส้นมีห่วงซึ่งแสดงไว้ตามรูปข้างล่าง คุณต้องการให้ช่างตีเหล็กเชื่อมต่อโซ่ทั้ง 5 เส้นนี้ให้เป็นเส้นเดียวกัน ช่างตีเหล็ก คิดค่าใช้จ่าย 5 บาท ต่อการตัดห่วง 1 ครั้ง และ 10 บาทต่อ การต่อห่วง 1 ครั้ง หากคิดแบบง่าย ๆ คุณก็จะเสียเงินทั้งหมดเท่ากับ 60 บาท “แต่ช่างตีเหล็ก คิดค่าทำเพียง 45 บาทเท่านั้น” ถามว่าช่างตีเหล็กใช้วิธีคิดอย่างไร
มุ่งมั่นฟันฝ่า(Proactive working: P) ความหมาย ทำงานด้วยความกระตือรือร้นอย่างมีสติและเหตุผล ทำงานอย่างเป็นสุขด้วยใจที่มุ่งมั่นสู่จุดมุ่งหมายเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน
5 P • มีความอดทน • ยืนหยัดที่จะทำตามสิ่งที่ตนเองคาดหวังแม้จะเผชิญกับความกดดัน ความยากลำบาก ความล้มเหลว หรือความผิดหวัง • มีระเบียบวินัย • ฝึกฝนตนเองโดยการค้นหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานอยู่เสมอ • ฝึกฝนทักษะที่จำเป็นต่อการทำงาน • จัดทำระบบการทำงาน เพื่อไม่ให้งานขาดตกบกพร่อง • มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี • มีความจริงใจ เป็นผู้ที่สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นก่อน ซึ่งเป็นสะพานเชื่อมไปสู่ความสำเร็จในการทำงานได้ • มีความกล้าหาญ • กล้าคิดแตกต่าง • กล้าคิดเปลี่ยนแปลง • กล้านำเสนอ • กล้าทำ • กล้ายอมรับผลไม่ว่าสำเร็จหรือล้มเหลว • พัฒนาตนเองอยู่เสมอ • พัฒนาตนเองให้มีความสามารถ สอดคล้องกับลักษณะงาน และความเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว อันเป็นการเพิ่มศักยภาพของตนเองให้มีความพร้อมในการทำงาน
พัฒนาสหกรณ์(Develop Cooperatives: D) ความหมาย มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งพึ่งตนเองได้
อธิบดีวิสัยทัศน์ และ ยุทธศาสตร์ • ต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ของโลก • ต้องไม่ทิ้งพื้นฐาน และรากฐานการสหกรณ์ คือ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และมองไปที่สมาชิกเป็นสำคัญ • การบริหารงานสหกรณ์ ของคณะกรรมการอย่างมืออาชีพ • ปรับเปลี่ยนทัศนะการบริหาร • มีทั้งความรู้พื้นฐานในการดำเนินกิจการ • การมองเป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์รวมกัน • เสียสละ
ACCESS (=A-1 Competitive Choice for Excellent Service & Soundness) • CQA (=Cooperative Quality Award) • เครื่องมือประเมินคุณภาพขึ้น เรียกว่า PEARLS • Protection • Effective Financial Structure • Asset Quality • Rates of Return and Cost • Liquidity • Signs of Growth
การทำงานเป็นทีม (TEAM) มีคำพูดสุดคลาสสิคของไมเคิล จอร์แดน ว่า “TATENT wins the game, But TEAM wins the championship”
ก้านไม้ขีดจำนวน 24 ก้าน ให้หยิบออก 4 ก้าน เพื่อทำให้เกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 3 4 5 6 7 8 9 10 และมากกว่า 10 รูป
Marriott’s 5-point Strategy to Attract & Retain Employees • Get it right the first time. • Money isn’t the only thing • Create a caring workplace • Promote from within • Build Your Brand Take care of your associates; they'll take care of your guests.
Loyalty Leadership is built on three founding principles • Care for our Associates • Commitment to our Customers • Continuous Improvement of our Business