1 / 112

โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล

โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล. ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหารโรงเรียนอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพทั้งองค์กร. กำหนดการ : วันที่ 1. กำหนดการ : วันที่ 2. หัวข้อ. ความท้าทายของการศึกษา การดำเนินการของโครงการ ที่มาของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ของการใช้เกณฑ์

larya
Download Presentation

โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากลโครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการบริหารโรงเรียนอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพทั้งองค์กร

  2. กำหนดการ: วันที่ 1

  3. กำหนดการ: วันที่ 2

  4. หัวข้อ • ความท้าทายของการศึกษา • การดำเนินการของโครงการ • ที่มาของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา • วัตถุประสงค์ของการใช้เกณฑ์ • องค์ประกอบของเกณฑ์ • เป้าหมายและทีมงาน • การเตรียมการเพื่อครั้งต่อไป • ถาม-ตอบ

  5. ความท้าทายของการศึกษาความท้าทายของการศึกษา • ผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนรู้ • ทักษะในการประกอบอาชีพ • ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม • การเรียนรู้ตลอดชีวิต • การเปลี่ยนแปลงจากสังคมภายนอก • การบริหารโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • การสร้างแรงจูงใจให้บุคลากร • การบริหารภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด • การมีส่วนร่วมกับชุมชน • การแข่งขันในยุคเทคโนโลยีการสื่อสาร

  6. ทิศทางการปฏิรูปการศึกษาทั่วโลกทิศทางการปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก

  7. แนวคิดหลักในการปฏิรูปการศึกษาแนวคิดหลักในการปฏิรูปการศึกษา • Standardization of education - การสร้างมาตรฐานของหลักสูตร • Focus on core subjects in school - การมุ่งเน้นทักษะและผลการเรียนรู้ในกลุ่มสาระวิชา • Search for low-risk ways to reach learning goals - การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การศึกษาโดยเรียนรู้จากประสพการณ์ • Use of corporate management models use of corporate management models - การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการโรงเรียนโดยอาศัยรูปแบบการบริหารที่ใช้ได้ผลจากโลกธุรกิจ http://www.pasisahlberg.com/blog/

  8. Educational Reform – lessons learned from our neighbor

  9. Educational Reform – lessons learned from our neighbor

  10. การปฏิรูปการศึกษาในสิงคโปร์

  11. โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากลโครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล • เป็นโครงการที่นำเอาเกณฑ์ความเป็นเลิศของการศึกษา Baldrige Educational Criteria for Excellence มาใช้เพื่อขับเคลื่อนการบริหารจัดการโรงเรียน เพื่อให้มีแนวทางพัฒนาและสร้างนวัตกรรมในการเรียนรู้ กับกลุ่มโรงเรียนในฝัน

  12. แบบจำลองความเป็นเลิศการบริหารคุณภาพการศึกษาแบบจำลองความเป็นเลิศการบริหารคุณภาพการศึกษา

  13. แนวทางการดำเนินการ Phase 4 ประเมินระดับพัฒนาการ ถ่ายทอดขยายผล ปรับปรุงกระบวนการ วัดผล ปรึกษาแนะนำ ประเมินความก้าวหน้า ถอดรหัสบทเรียน Phase 3 Phase 2 ปรับระบบงาน ค้นหาวิธีการปรับปรุงที่ดี พัฒนาตัวชี้วัด ติดตามความก้าวหน้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Phase 1 เรียนรู้ ทำโครงร่าง ประเมินองค์กร ทำแผนพัฒนา

  14. การดำเนินการโครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากลการดำเนินการโครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล โครงการโรงเรียนในฝันสู่มาตรฐานสากล

  15. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  16. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  17. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  18. ที่มาของเกณฑ์ คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ

  19. ที่มาของเกณฑ์ จากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย เกณฑ์คุณภาพการศึกษาของสหรัฐฯ

  20. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาฯคืออะไร?เกณฑ์คุณภาพการศึกษาฯคืออะไร? • เป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินสถาบันการศึกษาในภาพรวม • อยู่บนกรอบของการดำเนินงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ • สามารถใช้ประเมินได้ทั้งโรงเรียนและเขตการศึกษา • เป็นที่ยอมรับกันในประเทศชั้นนำต่าง ๆ ทั่วโลก • เป็นเกณฑ์เดียวกันกับเกณฑ์การประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ

  21. เนื้อหาในเกณฑ์มีอะไรบ้าง?เนื้อหาในเกณฑ์มีอะไรบ้าง? • เป็นข้อกำหนดของระบบการบริหารจัดการองค์กรในเรื่องหลัก ๆ ที่ส่งผลให้เกิดการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการบริการที่จะส่งมอบสิ่งที่มีคุณค่าแก่ผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสังคมอย่างต่อเนื่อง • โดยอาศัยแนวคิดและทฤษฎีของการจัดการที่เป็นระบบ และการปรับปรุงผลการดำเนินการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ • สอดแทรกหลักการของการบริหารจัดการที่อยู่บนระบบค่านิยมที่สร้างความยั่งยืนให้กับองค์กรและความสมดุลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม

  22. ความลึกซึ้งของเกณฑ์ • เกณฑ์ตั้งคำถามเพื่อให้โรงเรียนพิจารณาว่า เรื่องต่าง ๆ ของระบบการบริหารได้มี... • การดำเนินการที่เป็นระบบหรือไม่ • มีการนำระบบไปปฏิบัติอย่างจริงจัง สม่ำเสมอ ทั่วถึง หรือไม่ • มีการติดตามประเมินผล เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการต่าง ๆ ให้ดีขึ้นหรือไม่ • ผลการปรับปรุงในแต่ละเรื่องส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายและทิศทางที่สถาบันมุ่งหวังไว้หรือไม่ • ผลลัพธ์ของการปรับปรุงสร้างความยั่งยืนหรือไม่

  23. วัตถุประสงค์ของเกณฑ์ • เพื่อให้โรงเรียนต่าง ๆ ได้ใช้เกณฑ์นี้ไปพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการขีดความสามารถ และผลลัพธ์ให้ดีขึ้น • เป็นกลไกในการสื่อสารและการแบ่งปันเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจและทบทวนผลการดำเนินการในระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน รวมทั้งเป็นแนวทางในการวางแผนและเป็นโอกาสในการเรียนรู้ของโรงเรียนเอง

  24. เกณฑ์นี้จะช่วยโรงเรียนได้อย่างไร?เกณฑ์นี้จะช่วยโรงเรียนได้อย่างไร? เกณฑ์นี้ออกแบบขึ้นเพื่อช่วยให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการของตนเอง ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ดังนี้ • การจัดการศึกษาที่มีการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอให้แก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาและความยั่งยืนของโรงเรียน • การปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสามารถในการบริหารให้เกิดประสิทธิผล • เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคล

  25. องค์ประกอบของเกณฑ์ฯ

  26. เกณฑ์นี้เป็นเครื่องมือประเมินองค์กร เพื่อดูว่า.... • โรงเรียนมีการบริหารอย่างถูกทิศทางภายใต้การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • โรงเรียนเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และมุ่งมั่นตอบสนองความต้องการดังกล่าวได้ • วิธีการรวบรวมและใช้สารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการวางแผนและบรรลุเป้าหมายทั้งในปัจจุบันและอนาคต • วิธีการพัฒนาและใช้ความสามารถพิเศษของโรงเรียน • มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย ลดความผิดพลาด และส่งผลให้โรงเรียนผลิตนักเรียนที่ตรงตามเป้าหมายและมีบริการต่าง ๆ ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ผลการดำเนินการของโรงเรียนในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งจากมุมมองของผู้เรียนและผู้ปกครอง ชุมชน ขวัญกำลังใจและการมีส่วนร่วมของบุคลากร ประสิทธิภาพ และด้านการเงิน

  27. The 3 steps Know where you are? ประเมิน ปรับปรุงพัฒนา วัดผล Are you getting closer to goals? Know what to do?

  28. วัตถุประสงค์ของการใช้เกณฑ์นี้เพื่อการประเมินวัตถุประสงค์ของการใช้เกณฑ์นี้เพื่อการประเมิน • เป็นการประเมินในระดับองค์กร • เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ขององค์กร ค้นหาโอกาสในการปรับปรุงเพื่อนำไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร • เป็นกลไกสร้างให้เกิดการบูรณาการของส่วนต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนให้โรงเรียนไปสู่เป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ • ค้นหาแนวทางและวิธีการในการสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุง • ไม่เน้นการบรรลุตัวชี้วัด หรือการให้ได้คะแนนสูง

  29. องค์ประกอบสำคัญขององค์กรที่เป็นเลิศองค์ประกอบสำคัญขององค์กรที่เป็นเลิศ • การนำอย่างมีทิศทางและกลยุทธ์ • การดำเนินการที่เป็นเลิศ • การเรียนรู้ขององค์กร

  30. แนวคิดขององค์กรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศแนวคิดขององค์กรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ การเรียนรู้ขององค์กร การนำเชิงกลยุทธ์ การดำเนินการที่เป็นเลิศ

  31. แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่างแนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง องค์กรที่ดี องค์กรที่ดีกว่า การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ มุ่งเน้นผู้เรียน ได้การเรียนรู้ขององค์กร การเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและคู่ความร่วมมือ มีความคล่องตัว มุ่งเน้นอนาคต มีนวัตกรรม การจัดการโดยใช้ข้อมูล ความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งเน้นการสร้างคุณค่าและผลลัพธ์ มุมมองเชิงบูรณาการของระบบ • ชี้นำโดยผู้นำ • มุ่งเน้นผลผลิต • ได้มาตรฐาน • ปรปักษ์ระหว่างผู้ส่งมอบและผู้รับ • ปฏิบัติงานตามเงื่อนเวลา • มุ่งผลงานทีละไตรมาส • ปฏิบัติตามคู่มือ • ตัดสินและจัดการตามความรู้สึก • ปฏิบัติตามกฏหมายบังคับ • มุ่งเน้นผลเฉพาะหน้า • มุมมองเชิงภาระหน้าที่

  32. Core Values as Design Concepts

  33. ปฏิบัติการ 1 • ให้แต่ละโรงเรียนพิจารณาว่าโรงเรียนของตนมีการดำเนินการที่เป็นไปตามแนวคิดความเป็นเลิศข้อใด โดยใช้ฟอร์ม 1 • ให้อภิปรายในกลุ่มพร้อมนำเสนอตัวอย่างการดำเนินการที่สะท้อนค่านิยมความเป็นเลิศมาหนึ่งเรื่อง ให้เวลา 30 นาที เขียนลงบน Flip Chart

  34. 1. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ 2. ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นผู้เรียน 3. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล 4. การเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและคู่ความร่วมมือ 5. ความคล่องตัว 6. การมุ่งเน้นอนาคต 7. การจัดการเพื่อนวัตกรรม 8. การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 9. ความรับผิดชอบต่อสังคม 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า 11. มุมมองในเชิงระบบ ค่านิยมหลักและแนวคิด

  35. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ • ผู้นำต้องชี้นำทิศทางที่ถูกต้องและสื่อถึงคุณค่า คุณธรรมให้แก่คนในองค์กร • สร้างกรอบแห่งการปฎิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ • กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างนวัตกรรมและเสริมสร้างองค์ความรู้ • สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ • ส่งเสริม สนับสนุน และจูงใจให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการสร้างผลงานให้โรงเรียนและการพัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศ • สร้างสมดุลย์ระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆ • เป็นต้นแบบในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแห่งจริยธรรม คุณธรรม และการริเริ่ม

  36. การศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้การศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ • เข้าใจความต้องการและความแตกต่างในการเรียนรู้ของผู้เรียนและแปลงความต้องการนี้เป็นสาระวิชาและหลักสูตรที่เหมาะสม • คาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานและทิศทางการศึกษา • คณาจารย์ต้องเข้าใจถึงความแตกต่างและข้อจำกัดในการเรียนรู้ของผู้เรียนต่างกลุ่ม • เน้นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม • กระบวนการประเมินผลที่นอกจากจะประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนแต่ละคนแล้วต้องสามารถวัดผลการเรียนรู้และทักษะตามมาตรฐานที่กำหนดทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ • การปรับหลักสูตรการเรียนการสอนตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความรู้ใหม่ๆที่เกิดขึ้น

  37. การศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้คืออะไร?การศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนรู้คืออะไร? • การกำหนดและคาดหวังมาตรฐานขั้นสูงจากผู้เรียนทุกระดับ • ผู้สอนพึงตระหนักว่า ผู้เรียนอาจมีความแตกต่างในอัตราการเรียนรู้ ทั้งนี้ขึ้นกับเนื้อหา เวลา การสนับสนุน เงื่อนไขต่างๆ ดังนั้นองค์กรจึงควรเสาะแสวงหาวิธีการต่างๆเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน • เน้นการเรียนรู้แบบตื่นตัว • การประเมินผลเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ • การประเมินผลเพื่อวัดความรู้และการพัฒนา • ความมีส่วนร่วมของผู้เรียนและครอบครัว

  38. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคลการเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล • ความสำเร็จขององค์กรขึ้นกับแนวทางที่องค์กรใช้เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับบุคคล และระดับองค์กร อย่างเป็นระบบ • การเรียนรู้ควรเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตประจำวันของบุคคลากรในองค์กร • ความก้าวหน้าของคณาจารย์และบุคลากรในองค์กรขึ้นกับโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะใหม่ๆ • การเรียนรู้ในองค์กรมีตั้งแต่ระดับบุคคล สายงาน แผนกงาน จนถึงระดับองค์กร • การเรียนรู้ช่วยให้กระบวนการแก้ปัญหามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการแบ่งปันประสบการณ์จากกรณีศึกษาและการปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practice) • นำไปสู่นวัตกรรมและการสร้างสรรค์

  39. ประโยชน์ของการเรียนรู้ระดับบุคคลประโยชน์ของการเรียนรู้ระดับบุคคล • สร้างความพอใจและเพิ่มความสามารถในตัวบุคลากรให้อยากอยู่กับองค์กรต่อไป • เกิดการเรียนรู้ข้ามสายงาน • สร้างทรัพย์สินทางความรู้ให้กับองค์กร • สร้างบรรยากาศที่นำไปสู่นวัตกรรม

  40. การเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงาน และคู่ความร่วมมือ • ความสำเร็จขององค์กรขึ้นกับความหลากหลายของความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์และแรงจูงใจของคณาจารย์ บุคลากรและผู้ร่วมงานทุกกลุ่ม • การเห็นคุณค่าของกลุ่มบุคคลเหล่านี้หมายถึงการพัฒนาศักยภาพของพวกเขาทั้งด้านความรู้ การทำงาน และคุณภาพชีวิตเพื่อให้พวกเขาสามารถทำงานเพื่อสนับสนุนความเติบโตขององค์กรอย่างเต็มที่ • การพัฒนาอาจรวมไปถึงการฝึกอบรม การสอนงาน การให้โอกาสในการสับเปลี่ยนงาน ความก้าวหน้าในตำแหน่ง และผลตอบแทนที่ให้เพิ่มตามทักษะที่สูงขึ้น • คู่ความร่วมมือภายนอกรวมถึงสถาบันการศึกษาอื่น สมาคม หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่จะช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ และขยายตลาดใหม่ๆหรือเปิดหลักสูตรใหม่

  41. การเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงาน และคู่ความร่วมมือ • แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารใส่ใจกับความสำเร็จของคนในองค์กรเพียงใด • ให้การยอมรับซึ่งนอกเหนือจากที่องค์กรมีอยู่แล้วโดยปกติ • สนับสนุนการพัฒนาและความก้าวหน้าของคนในองค์กร • การนำความรู้ของคนในองค์กรออกมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่นักเรียน สังคม และวางแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร • สร้างบรรยากาศแห่งการสร้างสรรค์และนวัตกรรม • สร้างบรรยากาศให้คนที่มีพื้นฐานหลากหลาย ทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข

  42. ความคล่องตัว • องค์กรที่จะอยู่รอดได้ภายใต้ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของยุคโลกาภิวัฒน์จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง • องค์กรสมัยใหม่ต้องเผชิญหน้ากับข้อจำกัดในเรื่องของเวลา • หน่วยงานภาครัฐและสถาบันการศึกษามักถูกเรียกร้องให้สนองตอบต่อประเด็นที่กำลังเป็นที่สนใจในสังคม • บุคลากรขององค์กรจึงต้องมีความคล่องตัวในการทำงานและตอบสนองต่อความต้องการภายนอกได้เร็วขึ้น • การให้ความสำคัญกับเวลาที่ใช้ไปในการทำงานส่วนต่างๆภายในองค์กร • ความรวดเร็วฉับไวและคุณภาพของงานบริการ

  43. การมุ่งเน้นอนาคต • เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาทั้งระยะสั้นและระยะยาว • ปัจจัยเหล่านี้อาจรวมถึง: • การปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก • การเปลี่ยนรูปแบบการสอน • ความคาดหวังของผู้เรียนและสังคม • การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี • การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของประชากร • การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและงบประมาณ • การปรับเปลี่ยนของสถาบันคู่แข่ง • การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่ออนาคตและการเปลี่ยนแปลงช่วยให้วางแผนการพัฒนาบุคลากรและเครื่องมือได้ทันการณ์

  44. การจัดการเพื่อนวัตกรรมการจัดการเพื่อนวัตกรรม • นวัตกรรมหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่นำองค์กรไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น • นวัตกรรมนี้รวมถึงการพัฒนาหลักสูตร วิธีการสอน กระบวนการทำงาน การให้บริการ การวิจัย และการนำผลไปใช้ ซึ่งหมายถึงกิจกรรมทุกเรื่องในกระบวนการบริหารจัดการภายในองค์กร • การจัดการเพื่อนวัตกรรมจึงมุ่งเน้นที่การนำเอาความรู้ที่สั่งสมอยู่ทุกระดับภายในองค์กรออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทุกด้าน

  45. การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริงการจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • การกำหนดตัววัดต่างๆที่ตอบสนองความต้องการและยุทธศาสตร์ขององค์กร • ตัววัดควรครอบคลุมพันธกิจทุกด้านที่องค์กรดำเนินการจำแนกตามประเภทและกลุ่มเป้าหมาย • ตัววัดควรสามารถชี้บ่งผลการปฏิบัติงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว • การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามประเมินผล และการวางแผน • การวิเคราะห์ หมายถึง การกลั่นกรองใจความสำคัญจากข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้สนับสนุนการวัดผล การตัดสินใจ การปรับปรุง และนวัตกรรม • ตัววัดหรือตัวบ่งชี้ที่เลือกมาต้องเป็นตัวที่ดีที่สุดที่สะท้อนถึงปัจจัยที่นำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินการด้านผู้เรียน การปฏิบัติการ การเงิน และด้านสังคม

  46. ความรับผิดชอบต่อสังคมความรับผิดชอบต่อสังคม • ผู้นำควรให้ความใส่ใจต่อความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม การปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรมที่ดี • ผู้นำพึงตระหนักถึงการดำเนินงานในทุกส่วนที่เกี่ยวข้องในด้าน ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและสุขภาวะของส่วนรวม • องค์กรควรเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรและการลดของเสียที่แหล่งเกิด • ควรคำนึงถึงผลกระทบด้านลบ ที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการอาคารสถานที่ การปฏิบัติงานภายในห้องทดลอง และการขนย้าย • การมีส่วนร่วมในชุมชนและการช่วยแก้ปัญหาในสังคมเป็นการเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร • การประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการจรรโลงไว้ซึ่งจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

  47. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่าการมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า • ผลลัพธ์ที่ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • ผลลัพธ์เหล่านี้ได้สร้างคุณค่าอะไรให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ นักเรียน ชุมชน สังคม คณาจารย์และบุคลากร ผู้ร่วมงาน และ นายจ้าง • ตัวชี้วัดทั้งหลายได้ช่วยสร้างสมดุลให้แก่ความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆ

  48. มุมมองในเชิงระบบ • มุมมองที่เป็นระบบช่วยสร้างความเชื่อมโยงส่วนต่างๆเข้าด้วยกัน และสร้างความบูรณาการให้เกิดขึ้น • ระบบช่วยให้ทุกส่วนมุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกัน • เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ (Synthesis) ความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (Alignment) และการบูรณาการ (Integration) • สนับสนุนการบริหารงานและการจัดการที่ต่อเนื่องและคงเส้นคงวา • แสดงให้เห็นว่าผู้นำระดับสูงขององค์กรมีความมุ่งเน้นอย่างไรในทิศทางเชิงกลยุทธ์ นักเรียน และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย

More Related