1 / 87

ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ National Research Project Management : NRPM

ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ National Research Project Management : NRPM. งานวิจัย ซ้ำซ้อน. ความเป็นมา. งานวิจัย ซ้ำซาก. งานวิจัย ขึ้นหิ้ง. ไม่ทราบว่า ใครทำวิจัย อะไรบ้าง. การบริหารงบประมาณ และผลงานวิจัย. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ. แนวความคิดเบื้องหลัง. ยาก.

larya
Download Presentation

ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ National Research Project Management : NRPM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติNational Research Project Management : NRPM

  2. งานวิจัย ซ้ำซ้อน ความเป็นมา งานวิจัย ซ้ำซาก งานวิจัย ขึ้นหิ้ง ไม่ทราบว่า ใครทำวิจัย อะไรบ้าง การบริหารงบประมาณ และผลงานวิจัย หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง ยาก

  3. ถ้ามีระบบสารสนเทศการวิจัย เพื่อการบริหาร น่าจะใช้เป็นประโยชน์ในด้านใดได้บ้าง ? • ด้านการบริหารงบประมาณด้านการวิจัย ภาพรวม รายปี • ด้านการบริหารโครงการวิจัย สำหรับหน่วยงานที่ทำวิจัย • ด้านการทำนโยบาย ยุทธศาสตร์ การวิจัย • ด้านการพัฒนาประเทศ กำหนดนโยบาย ตอบโจทย์ที่สำคัญ • ด้านการพัฒนางานวิจัย ในสาขาวิชาการต่างๆ • ด้านการพัฒนางานวิจัย ในเรื่องหรือกลุ่มที่สำคัญ • ด้านการพัฒนากำลังคน ด้านการวิจัย

  4. คิดแบบบูรณาการ เป็นระบบอย่างไร ? • ใช้วิสัยทัศน์ ทัศนคติ ในการทำงาน เป็นตัวชี้นำ • คิดแบบ การมีส่วนร่วม และพัฒนาเครือข่าย • คิดแบบ อาคารสำนักงาน ให้บริการส่วนรวม มีแบบมาตรฐาน • คิดแบบ Spiralสร้างส่วนที่จำเป็นให้อยู่ได้ แล้วต่อเติม • คิดแบบ มุ่งเน้นสิ่งที่จำเป็น และใช้เป็นรากฐาน • คิดแบบ 80-20: Focus ที่ 80,ไม่ละเลย 20 • Best practices  Next Practices

  5. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง ให้ได้ข้อมูลด้านการวิจัยในภาพรวม ข้อมูลโครงการวิจัย : คำขอ การทำงานที่ได้ วัตถุประสงค์เบื้องต้น บริหารการใช้งบประมาณในภาพรวม เป็นฐานในการเชื่อมโยงสารสนเทศการวิจัย มีข้อมูลบุคลากรการวิจัย

  6. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง มติ คณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง, นโยบาย มีการพัฒนาระบบของ สกอ. ปัจจัยที่เอื้อ เป็นที่ต้องการของหน่วยงานต่างๆ การพัฒนา ความพร้อม ด้าน IT มีทีมงานสนใจ มุ่งมั่น ในการทำงานเป็นทีม

  7. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง ความสุขของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อมูลมาจากแหล่งกำเนิด หลักการ การจัดการภายในเป็นของหน่วยงาน วช. เป็นศูนย์ประสานงาน อำนวยความสะดวก ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ

  8. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง ประเทศ ประชาชนได้ประโยชน์ การพัฒนา - แผนการพัฒนาประเทศ หลักการ- ผู้มีส่วนได้-ส่วนเสีย การบริหารงบประมาณของประเทศ การพัฒนาด้านการวิจัย – นโยบาย ยุทธศาสตร์ หน่วยงานที่ทำวิจัย - นักวิจัย

  9. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง ไม่ทำงานซ้ำซ้อน ไม่เพิ่มงาน ข้อมูล - ที่ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน หลักการ- ความสุข รายงาน ที่เป็นรูปแบบตามต้องการ ใช้ข้อมูลเท่าที่จำเป็น มีมาตรฐาน อาจส่งผลกระทบในระยะเปลี่ยนแปลง

  10. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง นักวิจัย - ข้อมูลเกี่ยวกับนักวิจัย หัวหน้าโครงการ - ข้อมูลโครงการวิจัย หลักการ- ข้อมูลจากแหล่งกำเนิด หน่วยวิจัย - ข้อมูล งาน-เงิน-คน สำนักงบประมาณ - ข้อมูลงบประมาณ วช. – ประสาน รวบรวม อำนวยความสะดวก

  11. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง หน่วยงานวิจัย รับผิดชอบข้อมูลตนเอง การจัดลำดับข้อเสนอโครงการวิจัยเอง หลักการ-การจัดการภายในหน่วยงาน การนำเข้า แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุงเอง เหตุผล การเปลี่ยนแปลง ให้มีข้อมูลไว้ การมอบหมายความรับผิดชอบงานเอง

  12. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง วช. ทำหน้าที่ประสานงาน วช. ทำหน้าที่ อำนวยความสะดวก หลักการ- วช. ประสาน ให้ความสะดวก วช. พัฒนา บำรุงรักษา ระบบที่ต้องการ วช. บริหารจัดการระบบ ข้อมูล ในภาพรวม วช. – ไม่ใช่เจ้าของข้อมูล

  13. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง คำนึงถึงความพร้อม ความสะดวก ทำงานแบบ web-based หลักการ- ใช้ ITเป็นเครื่องมือ ใช้ข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน เช่น ID มีระบบบันทึก ติดตาม logการเข้าใช้งาน สะดวกในการนำเข้า และการนำไปใช้งาน

  14. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดเบื้องหลัง การออกรายงาน ภาพรวม แยกหน่วยงาน เก็บข้อมูลไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง หลักการ- IT มีประโยชน์ เอื้อต่อการสืบค้น จัดหมวดหมู่ ทำงานon-lineผ่าน internet ลดการใช้กระดาษ ใช้กระดาษเท่าที่จำเป็น

  15. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดในการพัฒนา มีคณะทำงานที่พร้อมมีประสบการณ์ พัฒนาแบบทำไปพัฒนาไป Spiral แนวคิดในการพัฒนา ทำสิ่งที่สำคัญเป็นรากฐานก่อน ใช้หลักการบริหาร วิเคราะห์ งาน ABC (Activity based costing) คิดแบบบูรณาการ เป็นเครือข่าย

  16. หลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติหลักการของระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • แนวความคิดในการพัฒนา งบประมาณวิจัย ส่วนใหญ่ที่ มหา’ลัย งบวิจัยส่วนใหญ่ อยู่ไม่กี่หน่วยงาน วิเคราะห์เบื้องต้น ให้กลุ่มหลักทำได้ ดูแลกลุ่มที่ไม่พร้อม ประชุม ระบุความต้องการ เท่าที่จำเป็นก่อน พัฒนาแบบบูรณาการ รวมถึงเครือข่าย

  17. ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ • การดำเนินการ 3 ขั้นตอนหลัก Proposal Evaluation On-Going Monitoring Post-audit ประเมินข้อเสนอ ติดตามประเมินผล ประเมินผลงานที่เสร็จ

  18. การพัฒนาระบบ Phase 1 Phase 2 Phase 3 การติดตาม ประเมินผล โครงการที่ เสร็จแล้ว การรับและพิจารณาข้อเสนอโครงการ การติดตาม ประเมินผล ระหว่าง การดำเนินงาน

  19. ข้อมูลกำกับโครงการ การใช้เงิน รายงานความก้าวหน้า รายไตรมาส หรือ 0n-demand งานที่เสร็จ ปัญหาและ การแก้ไข ข้อมูลเพื่อการติดตามประเมินผล

  20. Proposed concept 1 Oct. Fiscal year 30 Sep. Fig.1 : Research project life (start to end)NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Start Research project Life End

  21. Start Research project Life End 1 Oct. Fiscal year 30 Sep. Fig. 2 : Report time frame - quarterly, (Rq1- Rq4)NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 Reports 24 1 Oct.

  22. Fig. 3: On-demand reporting (at any point of time)NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 +On-demand Report Reports Start Research project Life End 25 1 Oct. 1 Oct. 1 Oct. Fiscal year 30 Sep.

  23. Fig. 4 : Payment Dates to the Research ProjectNRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 +On-demand Report Reports Payment Start Research project Life End 26 1 Oct. 1 Oct. 1 Oct. Fiscal year 30 Sep.

  24. Fig. 5 : The 5Research steps (S1-S5) NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 +On-demand Report Reports Payment S1 S2 S3 S4 S5 Research step Start Research project Life End 27 1 Oct. 1 Oct. 1 Oct. Fiscal year 30 Sep.

  25. Fig. 6 : Research status updating NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 +On-demand Report Reports Payment S1 S2 S3 S4 S5 Research step R Status updating Start Research project Life End 28 1 Oct. 1 Oct. 1 Oct. Fiscal year 30 Sep.

  26. Fig. 7 : 2 types of Reporting NRPM : On-going/Monitoring of Research Projects Status Reports Budget Reports Progress of Research work Percentage of used budget Proposed concept Rq1 Rq2 Rq3 Rq4 Reports Reports Payment S1 S2 S3 S4 S5 Research step R Status updating Start Research project Life End 29 1 Oct. 1 Oct. 1 Oct. Fiscal year 30 Sep.

  27. ปัญหาอุปสรรคและการแก้ไขปัญหาอุปสรรคและการแก้ไข ข้อมูลปัญหา – เมื่อมีปัญหาและแก้ไขเสร็จ ความก้าวหน้าของงานวิจัย การใส่ข้อมูลงาน – เมื่องานในขั้นหลักเสร็จ ข้อมูลการใช้งบประมาณ การใส่ข้อมูลการเงิน - เมื่อจ่ายเงิน ข้อมูลกำกับโครงการ การทำสัญญา - จุดเริ่มต้นนำเข้าข้อมูลโครงการ การนำเข้าข้อมูล 4ส่วนในแต่ละโครงการ

  28. ข้อมูลกำกับโครงการ ชื่อโครงการ จำนวนงบประมาณ ระยะเวลา นักวิจัย ข้อมูลกำกับโครงการ จำนวนงวดการเบิกจ่ายเงิน มีกี่งวด แต่ละงวด กี่ % ของงบโครงการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ของการทำวิจัย ในระดับผลผลิต และผลลัพธ์

  29. ภาพรวมของประเทศที่อยากเห็นภาพรวมของประเทศที่อยากเห็น การใช้ประโยชน์จากระบบวิจัย นโยบาย & ยุทธศาสตร์การวิจัย การบริหารงานวิจัย การบริหารงบประมาณวิจัย

  30. ความคุ้มค่า เริ่มต้นที่…. ความคุ้มค่า : เงินภาษี เวลา ความพยายาม ….. ผลที่ได้จากการวิจัย การทำวิจัย การใช้ ประโยชน์ ข้อเสนอโครงการ Concept

  31. วัฏจักรการทำวิจัย Policy Needs Research Cycle Research Stakeholders Proposal

  32. ภาพรวมการใช้งบวิจัยของประเทศ ที่จะขยายระบบ NRPM 1 การติดตามประเมินผล ผ่านระบบ NRPM งบประมาณแผ่นดิน ผ่านระบบ NRPM 4 ใช้เงิน คำขอฯ 2 การติดตามประเมินผล ผ่าน หน่วยงานสนับสนุนอื่น งบประมาณแผ่นดิน ผ่าน หน่วยงานสนับสนุนอื่น ใช้เงิน คำขอฯ 3 การติดตามประเมินผลงบประมาณอื่น งบร่วมเอกชน งบประมาณอื่น งบร่วมเอกชน ใช้เงิน คำขอฯ

  33. 1 2 3 พัฒนาระบบเชื่อมต่อไปสู่การติดตาม ประเมินผล และพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินผล พัฒนาระบบฐานข้อมูล นักวิจัย สำหรับนักวิจัย ในระบบ การพัฒนาระบบ การฝึกอบรมแบบ On-line NRPMกำลังทำอะไรอยู่ e-learning System Database Researchers On-going

  34. 1 2 3 การขยายขอบเขตเครือข่าย หน่วยให้ทุนสนับสนุน พัฒนาระบบสารสนเทศในการบริหาร การพัฒนาระบบ ใหม่ รวมศูนย์ +แบบกระจายเป็นกลุ่ม NRPMก้าวต่อไป Clustering System On-going MIS

  35. กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการวิจัยกำหนดผู้รับผิดชอบด้านการวิจัย 1 กำหนดผู้ประสานงานวิจัย และผู้ช่วย 2 การบริหารจัดการข้อมูลนักวิจัย การนำข้อมูลโครงการระหว่างทำวิจัยเข้าระบบ 3 5 การจัดลำดับและข้อมูลข้อเสนอโครงการวิจัย การนำข้อมูลโครงการวิจัยที่แล้วเสร็จเข้าระบบ 4 6 บทบาท หน้าที่ของหน่วยวิจัย

  36. บทบาท ของผู้ประสานงานวิจัย ด้านการวิจัย: ประสานงานภายใน กับ วช. • แจ้งข้อมูล ข่าวสาร ให้กับหน่วยงานภายใน นักวิจัย • ประสานงานในการนำเข้าข้อมูล นักวิจัย โครงการวิจัย • ประสานงานในการจัดลำดับข้อเสนอโครงการ สรุปผล • เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะกับ วช. • ให้ข้อมูล คำแนะนำ กับนักวิจัย ผู้ใช้ระบบ NRPM • ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  37. บทบาท ของผู้ประสานงานวิจัย (ต่อ) ด้านIT(อาจหาผู้ช่วยที่มีความสามารถด้าน ITมาช่วย) • การกำหนด ผู้ใช้ login,รหัสผ่านและสิทธิ์ • การเพิ่ม ลบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับผู้ใช้ • การจัดการข้อมูล เช่น โอนย้าย backup • การจัดการข้อมูลในขั้นตอนต่างๆ • ให้ข้อมูล คำแนะนำ กับนักวิจัย ผู้ใช้ระบบ NRPM • ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

  38. การประสานงาน บทบาทของ ผู้ประสานงานวิจัย • ด้านการวิจัย: • วช. กับ ภายในองค์กร • ผู้บริหาร กับ นักวิจัย • ข้อมูล ข่าว กำหนดการ • ประสานนำข้อมูลเข้า • ทำรายงาน ใช้ประโยชน์ • ด้าน IT ที่เกี่ยวข้อง: เช่น • เพิ่ม ลบ กำหนดสิทธิ์ ผู้ใช้ • การตรวจสอบข้อมูล • การ Backup ข้อมูล • แนะนำ การใช้งานในส่วนที่เกี่ยวกับ IT

  39. ข้อมูล บทบาทของ นักวิจัย (Researchers) • ด้าน โครงการวิจัย: เช่น • พัฒนาข้อเสนอการวิจัยที่ดี • การนำเข้าข้อมูลโครงการวิจัย • การตรวจสอบข้อมูล • การ Backupข้อมูล • ส่วนบุคคล: • ประวัติ นักวิจัย • updateข้อมูล • การใช้ประโยชน์ หาทีม

  40. บทบาท ของนักวิจัย ด้านข้อมูลประวัติ นักวิจัย โดยใช้ระบบ NRPM-CV • นำเข้าตรวจสอบ ข้อมูลนักวิจัยเอง • ใช้จัดทำประวัติ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ประกอบข้อเสนอฯ • ใช้ประโยชน์ ในการพิมพ์ประวัติ CVตามต้องการ • จะเป็นฐานข้อมูลนักวิจัย โยกย้ายได้ สะดวก • จะเป็นประโยชน์ในการจัดทำทะเบียนนักวิจัย เผยแพร่ • จะเป็นประโยชน์ในการค้นหานักวิจัย เพื่อทำการวิจัย

  41. บทบาท ของนักวิจัย ด้านข้อมูลโครงการวิจัยในกรณี ที่เป็นหัวหน้าโครงการ หรือผู้รับผิดชอบโครงการวิจัย • พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย ใช้NRPM – pre audit • นำเข้าตรวจสอบ ข้อมูลโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติ • updateความก้าวหน้า ของโครงการที่ทำนำข้อมูล • โครงการวิจัย ที่ทำเสร็จ เข้าระบบ และupdate • จะเป็นฐานข้อมูลโครงการวิจัย อ้างอิงทางวิชาการ ผลงาน • จะเป็นประโยชน์ในการจัดทำข้อมูลการวิจัย ใช้บริหาร เผยแพร่ • จะเป็นประโยชน์ในการค้นหาข้อมูล เพื่อทำการวิจัย

  42. 1. งานวิจัยเป็นที่ต้องการ เจ้าของเงินอนุมัติได้ง่าย นโยบายเศรษฐกิจฯ ยุทธศาสร์วิจัย มีหลังอิงเชิงนโยบาย 5 ธันวาคม นโยบายรัฐบาล 12 สิงหาคม

  43. 1. งานวิจัยเป็นที่ต้องการ ความต้องการของผู้ใช้ผลงานวิจัย • กรอบแนวคิด • การวิจัย • เป็นโจทย์ที่ต้องการ • แนวคิดที่น่าจะได้ผล • บูรณาการความคิด • ทันเหตุการณ์ • จัดองค์ประกอบดี • มีจริยธรรม • สำคัญเร่งด่วน • แผนสภาพัฒน์ฯ • นโยบายยุทธศาสตร์การวิจัย วช. • วาระเร่งด่วนแห่งชาติ • นโยบายรัฐบาล • ประเด็นที่สำคัญ โจทย์วิจัย กระบวนการวิจัย ผลที่ได้จากการวิจัย ขีดความสามารถของคณะผู้วิจัย

  44. วิธีดำเนินการวิจัย การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การทบทวน วรรณกรรม การสรุป เสนอแนะ ความสำคัญ ของปัญหา 2.งานวิจัยเป็นไปตามหลักวิชาการ

  45. นักวิจัย

  46. การเข้าระบบ NRPMwww.dld.go.th/expert/

  47. click

More Related