1 / 15

วิทยากร ดร. เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. ๔๒

การหาค่าทีเฉลี่ย. Average T score. วิทยากร ดร. เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. ๔๒. การหาค่าทีเฉลี่ย ( Average T score).

lee-reese
Download Presentation

วิทยากร ดร. เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. ๔๒

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การหาค่าทีเฉลี่ย Average T score วิทยากร ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒

  2. การหาค่าทีเฉลี่ย (Average T score) การหาคะแนนทีเฉลี่ย (Average T score) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาคเรียน/ปลายปีการศึกษาที่แล้ว และปีการศึกษาปัจจุบัน

  3. การหาค่าทีเฉลี่ย (Average T score) ให้แปลงคะแนนที่ได้จากการทดสอบเป็นคะแนนทีเฉลี่ย (T score) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่มประสบการณ์/สาขาวิชา เดียวกัน ที่เป็นคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน หรือคะแนนของผู้เรียนปลายภาคเรียน/ปลายปีการศึกษาที่แล้วและปลายภาคเรียน/ปลายปีการศึกษาปัจจุบัน

  4. วิธีการแปลงคะแนนให้เป็นคะแนนค่าทีเฉลี่ย (Average T score) 1. ให้นำคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรียนของนักเรียนทุกคนมาเรียงต่อกันให้เป็นคะแนนชุดเดียวกัน (คะแนนเต็มก่อนเรียนและหลังเรียน อาจไม่เท่ากันก็ได้) แล้วนำคะแนนมาบวกกันหาผลรวม 12 + 24 = 36

  5. 2. ให้นำคะแนนผลรวมจากข้อ 1 มาคำนวณหาค่าเฉลี่ย (X) (Mean) โดยหารด้วยจำนวนนักเรียนทั้งหมด (จำนวนนักเรียนก่อนเรียนและจำนวนนักเรียนหลังเรียนรวมกัน) กรณีที่นักเรียนไม่มีคะแนนก่อนเรียนหรือหลังเรียนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง ไม่ต้องนำมาคำนวณ

  6. 140 10 12 + 24 3 + 3 = 6

  7. 3. ให้นำคะแนนจากข้อ 1 มาคำนวณหา ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Σx2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว ยกกำลังสอง (Σx) 2แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ยกกำลังสอง n แทน จำนวนนักเรียน

  8. Σx2 = (50 + 194) = 244 (Σx)2 = (12 + 24)2 = 1,296 n = จำนวนนักเรียนก่อนเรียน + จำนวนนักเรียนหลังเรียน = 3 + 3 = 6 แทนค่าในสูตร = = 2.37 6 x 244 - 1296 5.6 6 (6-1)

  9. 4. ให้นำค่าเฉลี่ย (X) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากข้อ 2 และข้อ 3 มาคำนวณหาค่ามาตรฐานซี (Z score) = -1.26 (3 – 6) 2.37

  10. 5. ให้นำคะแนนค่ามาตรฐานซี (Z score) มาหาคะแนนที (T score) 10 x(-1.26) = 37.40

  11. 6. ให้นำคะแนนคะแนนที (T score) มาแยกเป็นคะแนน 2 ชุด ได้แก่ ชุดคะแนนก่อนเรียน และชุดคะแนนหลังเรียน

  12. 7. ให้คำนวณหาค่าความแตกต่างของคะแนนที ชุดคะแนนก่อนเรียนและชุดคะแนนหลังเรียน (ข้อ 6) เพื่อหาค่าร้อยละของคะแนนทีหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทีก่อนเรียน หรือระหว่างการทดสอบ 2 ครั้ง โดยใช้สูตร 7.1 หาความแตกต่างของคะแนนทีหลังเรียนและคะแนนทีก่อนเรียน 7.2 หาความแตกต่างของคะแนนทีปีการศึกษาปัจจุบัน และปีการศึกษาที่แล้ว กรณีคะแนนปลายภาคเรียน ใช้วิธีการเดียวกับ ข้อ 7.2

  13. หาความแตกต่างของคะแนนทีหลังเรียนและคะแนนทีก่อนเรียนหาความแตกต่างของคะแนนทีหลังเรียนและคะแนนทีก่อนเรียน = 58.40 -41.60 = 16.80

  14. 8. ให้นำคะแนนทีเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นมาคำนวณหาค่าร้อยละ แล้วเปรียบเทียบค่าร้อยละของคะแนนทีเฉลี่ยที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนทีที่เพิ่มขึ้น = 16.80 คะแนนทีที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ = 16.80 x 100 = 40.38 ค่าทีเฉลี่ยก่อนเรียน 41.60

  15. 8.1 ให้นำคะแนนคะแนนทีเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน กรอกลงใน ข้อ 1.1 ตามแบบ ก.ค.ศ. 3/1 8.2 ให้กรอกคะแนนทีเฉลี่ยปลายภาคเรียน/ปลายปีการศึกษาที่แล้ว และปลายภาคเรียน/ ปลายปีการศึกษาปัจจุบันที่คำนวณได้ ลงใน ข้อ 1.2 ตามแบบ ก.ค.ศ. 3/1 กรณีที่คะแนนทีเฉลี่ยไม่เพิ่มขึ้นหรือลดลง จะไม่ได้คะแนนข้อนี้

More Related