750 likes | 1.31k Views
การพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ. นำเสนอโดย นายชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สสจ. ชัยภูมิ. แผนที่จังหวัดชัยภูมิ. 16 อำเภอ. ข้อมูลด้านประชากร. โครงสร้างประชากร จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2555. 1,129,800 คน.
E N D
การพัฒนาระบบหมอครอบครัวการพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ นำเสนอโดย นายชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สสจ.ชัยภูมิ
ข้อมูลด้านประชากร โครงสร้างประชากร จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2555 1,129,800 คน หญิง ชาย
ข้อมูลด้านสุขภาพ • อัตราเกิด ตาย และเพิ่มต่อประชากรพันคน จังหวัดชัยภูมิ ปี 2550 – 2554
ข้อมูลด้านสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ • โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด550 เตียง1แห่ง • โรงพยาบาลชุมชนขนาด90 เตียง1แห่ง ขนาด60 เตียง5แห่ง ขนาด30 เตียง8แห่ง เตียงรวม 1,180เตียง สัดส่วนเตียง : ประชากร 1 : 954 • รพ.สต. / ศสม. 168/3 แห่ง • รพ.เอกชน 2 แห่ง
โครงสร้างตามภารกิจแยกตามระดับบริการ โครงสร้างตามภารกิจแยกตามระดับบริการ -ระดับ S (1แห่ง) :ร.พ.ชัยภูมิ- ระดับ M2 (4แห่ง): ร.พ.ภูเขียว, ร.พ.แก้งคร้อ, ร.พ.หนองบัวแดง,ร.พ.จัตุรัส- ระดับ F1(1แห่ง) : ร.พ.บำเหน็จณรงค์ - ระดับ F2 (9แห่ง) : ร.พ.คอนสาร, ร.พ.เกษตรสมบูรณ์, ร.พ.บ้านแท่น,ร.พ.คอนสวรรค์, ร.พ.บ้านเขว้า, ร.พ.เนินสง่าร.พ.เทพสถิต,ร.พ.ภักดีชุมพล,ร.พ.หนองบัวระเหว - ระดับ F3 (1แห่ง):ร.พ.ซับใหญ่
ข้อมูลด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข • แพทย์ 129 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 8,722 • ทันตแพทย์ 75 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 15,001 • เภสัชกร 99 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 11,365 • พยาบาลวิชาชีพ 1,381 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 815 (รวมพยาบาลวิชาชีพของรพ.สต.) • เจ้าหน้าที่ประจำ รพ.สต. 557 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 2,020 (ไม่รวมพยาบาลวิชาชีพ)
ข้อมูลสาธารณสุขระดับพื้นที่ข้อมูลสาธารณสุขระดับพื้นที่ • แพทย์ 89 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 9234 • พยาบาลวิชาชีพ 252 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 3261 • นสค. (สหวิชาชีพ) 692 คน อัตราส่วน/ประชากร 1: 1188 (ไม่รวมรพ.ชัยภูมิ)
การเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งที่จำเป็นการเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งที่จำเป็น ใน รพ.สต. และศสม.
การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม.การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม. • สนับสนุนบุคลากรลงในรพ.สต. ปี 53-55 • นวก.สาธารณสุข 43 คน • พยาบาลวิชาชีพ 27 คน • นักการแพทย์แผนไทย 5 คน • เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 1 คน • เจ้าพนักงานทันตฯ 11 คน • เจ้าพนักงานสาธารณสุข 56 คน
การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม.การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม. • จำนวนรพ.สต./ศสม.168/3 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ Ontop payment ประเภท 1 100 บาท/หน่วย 0 แห่ง ประเภท 2 A50 บาท/หน่วย 78 แห่ง B 48 บาท/หน่วย 53 แห่ง C 44 บาท/หน่วย 29 แห่ง ไม่ผ่าน 7 แห่ง
ครุภัณฑ์ตามเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต./ศสม. • รพ.สต.ขนาดใหญ่/ศสม27/3 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 27/3 แห่ง คิดเป็น 100% • รพ.สต.ทั่วไป 141 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 141 แห่ง คิดเป็น 100%
2. พยาบาลเวชปฏิบัติใน รพ.สต. / ศสม.
3. แพทย์ที่ปรึกษาใน รพ.สต. / ศสม.
การแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม.การแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม. • จำนวนรพ.สต./ศสม.168/3 แห่ง • แพทย์ในรพช. ทั้งหมด 89 คน • จำนวนรพ.สต./ศสม.ที่มีแพทย์ออก OPD 32 แห่ง • รพ.สต.ที่ยังไม่ได้วางระบบที่ปรึกษา 0 แห่ง ทุก รพ.สต. /ศสม. มีแพทย์ที่ปรึกษาประจำ รพ.สต. /ศสม.
สัดส่วนการแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม.สัดส่วนการแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม. • แพทย์ 1 ท่านต่อ 1 รพ.สต. 0 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 2 รพ.สต. 114 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 3 รพ.สต. 36 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 4 รพ.สต. 18 แห่ง
4. ความพร้อมในการดำเนินการตามนโยบาย
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลเด็กและสตรี • พัฒนารพ.สายใยรักระดับทอง 100% • พัฒนาศักยภาพจนท.ด้านบริการ • ประกวดนวัตกรรมการดูแลแม่และเด็ก • พัฒนาตำบลนมแม่โดย SRT ในโครงการสายใยรัก • มีแผนพัฒนาขยายตำบลนมแม่ในอีก 3 อำเภอในปี 2556
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลผู้สูงอายุ • คัดกรองผู้สูงอายุ • สนับสนุนกายอุปกรณ์ • ประกวดชมรมผู้สูงอายุ • ประกวดวัดส่งเสริมสุขภาพ • จัดบริการตาม Core packet
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลผู้ด้อยโอกาส • จัดบริการและดูแลผู้ด้อยโอกาส • สนับสนุนกายอุปกรณ์ • พัฒนา OM (ผู้พิการทางสายตา) • พัฒนาศักยภาพจนท.ในการดูแลผู้ด้อยโอกาส • สนับสนุนนักกายภาพทุกรพ. • พัฒนาเครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการ โดยนักกายภาพ และสหวิชาชีพ
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การป้องกัน และบำบัด รักษา ผู้ติดยาเสพติด
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สถานการณ์ด้านการบำบัด (๑ ต.ค.๕๕ – ๑๐ มกราคม ๒๕๕๖) - ระบบสมัครใจบำบัด เป้าหมาย ๒,๔๕๐ คน ผลงาน ๓๗๙ คน (ร้อยละ ๑๕.๔๖ ) - ระบบบังคับบำบัด เป้าหมาย ๑,๐๖๑ คน ผลงาน ๓๗๖ คน (ร้อยละ ๓๕.๔๓ ) - ระบบต้องโทษบำบัด เป้าหมาย ๒๐๐ คน ผลงาน ๔๖ คน (ร้อยละ ๒๓.๐๐) การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ผลการดำเนินงานด้านการติดตามหลังการบำบัดยาเสพติด ปี ๒๕๕๖ เป้าหมาย...จำนวน ๗,๒๘๗ คน ผลงาน ๓,๔๙๔ คน (ร้อยละ ๔๗.๙๔) การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๖ ๑.ร่วมประชุมจัดทำแผนการดำเนินงาน แบบบูรณณาการกับ ศพส.จ.ชย.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒.ประชุมผู้รับผิดชอบงาน ฯ รพ./สสอ.เพื่อจัดทำแผนฯ ตามภารกิจ ๓.แต่งตั้งคณะทำงาน ศพส.สธ.ชย./ประชุม เดือนละ ๒ ครั้ง เพื่อควบคุม กำกับ ติดตามงาน การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๔. คัดกรองค้นหาผู้เสพ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๕. ประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อร่วมมือแก้ปัญหา
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๖. จัดค่ายบำบัดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๗. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การส่งเสริมสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ
อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดชัยภูมิ (ต่อแสนประชากร) 34
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • เป้าหมายและผลงาน(ตค.-ธค.๕๕)ในปี ๒๕๕๖ • ๑.ประชาชนอายุ ๓๕ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน • ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ (ผลงาน ๒๗.๒๘) • ๒.ประชาชนอายุ ๓๕ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดัน • โลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ (ผลงาน ๒๗.๒๘) • ๓.กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานในปี ๒๕๕๕ ป่วยเป็นโรคเบาหวานในปี ๒๕๕๖ ไม่เกินร้อยละ ๕(ผลงาน ๓.๓๗) 35
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมายและผลงาน(ตค.-ธค.๕๕)ในปี ๒๕๕๖ ๔.กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงในปี ๒๕๕๕ ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงในปี ๒๕๕๖ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ผลงาน ๔.๓๐) ๕.ผู้ป่วยเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ (ผลงาน ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ร้อยละ ๑๔.๕๐ ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ ๑๖.๐๐ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ร้อยละ ๒๔.๒๐ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ ๑๖.๗๕) ๖. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก สะสม ๔ ปีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ (ผลงาน ๖๔.๕๐) 36
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ) • วิธีดำเนินการ • ๑.จัดทำแผนปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข และของจังหวัด ในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด • ๒. ควบคุม กำกับ ติดตาม นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น อปท.พมจ. เป็นต้น 37
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๓. บริหารจัดการและสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน ๔.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ NCD BOARD และ คณะอนุกรรมการฯ และประชุมต่อเนื่อง ๕.พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ ให้สามารถปฏิบัติงานได้ตาม เป้าหมาย เช่น การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การดูแลผู้ป่วยโรคต่างๆ 38
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๖. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร และ การสื่อสารความเสี่ยง ให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย ๗. สนับสนุนการรณรงค์การสร้างสุขภาพ เช่น ลดการบริโภคหวาน มัน เค็ม การออกกำลังกาย กลุ่มช่วยเหลือดูแลกันเอง ลดการสูบบุหรี่ และลดการดื่มสุรา ฯลฯ ๘. สนับสนุนการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในทุกระดับ 39
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ) ๙.บริหารจัดการเรื่องข้อมูลข่าวสาร สนับสนุนให้มีการจัดเก็บข้อมูลด้านโรคเรื้อรัง เช่น จัดทำทะเบียนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านหรือชุมชนที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และ คลินิก DPAC ฯลฯ 40
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๑๐. จัดประกวดอำเภอดีเด่นในการดำเนินงานโครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยจังหวัดชัยภูมิ และสนับสนุนให้เข้าประกวดระดับเขต และระดับภาค ๑๑. ควบคุม กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน 41
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ... ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดำเนินการได้ช้า เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ขาดความตระหนักต่อการลดโอกาสเสี่ยงของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและงบประมาณไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะ...ควรมีการประชาสัมพันธ์ในภาพกว้าง และขอให้ สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ 42
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 43
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 44
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 45
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 46
โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 47
การสร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) การสร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) 48
ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การลดความแออัด
โรงพยาบาลไร้ความแออัด และพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ พื้นที่ดำเนินการ : อำเภอเมืองชัยภูมิ