1 / 40

หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา

Chemical Bonding. Why do bonds form?. to lower the potential energy. File : 9_1_1.swf. หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา. between positive and. บทนำ. negative charges. พันธะเคมี. positive charges. protons. พันธะไอออนิก. cations. พันธะโควาเลนต์. พันธะโลหะ. negative charges. electrons.

macy
Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chemical Bonding Why do bonds form? to lower the potential energy File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา between positive and บทนำ negative charges พันธะเคมี positive charges protons พันธะไอออนิก cations พันธะโควาเลนต์ พันธะโลหะ negative charges electrons anions non-metals metals gain e- ในเรื่องของพันธะเคมีเราจะพูดถึงว่าพันธะเคมีเกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วมีชนิดไหนบ้างนะครับ เบื้องต้นการเกิดพันธะเคมีก็อาจจะแบ่งคราวๆ ได้ 3 พันธะด้วยกัน คือ พันธะไอออนิกพันธะโควาเลนต์ และพันธะโลหะ สำหรับกรณีของพันธะ Chemical Bonding หรือพันธะเคมีที่พูดถึง จะเกี่ยวข้องกับการให้และรับอิเล็กตรอน หรือเกิดจากการแชร์อิเล็กตรอนนะครับ เบื้องต้นเราก็จะเห็นว่า การให้และรับอิเล็กตรอน โดยปกติแล้ว โลหะมักจะทำหน้าที่ในการสูญเสียอิเล็กตรอน และก็นอนเมตา หรืออโลหะ ก็มักจะทำหน้าที่ในการรับอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวเอง ซึ่งพันธะที่เกิดขึ้นจากการให้และรับอิเล็กตรอน เราจะรู้จักกันในเรื่องของพันธะไอออนิก แต่กรณีของพันธะโควาเลนต์ก็จะไม่ได้เกิดการให้และรับอย่างสมบูรณ์ แต่จะมีการแชร์อิเล็กตรอนซึ่งจะกล่าวถึงในต่อไปนะครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อพูดถึงพันธะทั้ง 3 ค่อยๆ ปรากฏกรอบข้อความขึ้นมา lose e- Periodic Table การเคลื่อนไหวของภาพ

  2. File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ 1 Electronegativity 5 6 2 3 4 กรณีพันธะไอออนิกกับพันธะโควาเลนต์ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่เราจะศึกษาในบทนี้ ก็มีพารามิเตอร์หรือตัวเด่นสำคัญตัวนึง ที่เป็นตัวบอกอย่างคร่าวๆ ได้ว่าสารที่เราสนใจนั้นจะมีพันธะชนิดไหนนั่นก็คือค่าElectronegativity ค่านี้เป็นค่าที่แสดงความสามารถในการดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวเอง ตัวอย่างเช่น ฟลูออรีนจะมีค่า Electronegativity สูงที่สุดในตารางธาตุ นั่นหมายความว่าฟลูออรีนจะสามารถดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวเองได้เก่งที่สุด ในขณะตัวที่ดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวเองได้น้อยที่สุดนั่นก็คือ ฟรานเซียม นะครับ เพราะฉะนั้นค่า Electronegativity จะเป็นตัวบ่งบอกอย่างหนึ่งว่า สารที่เราสนใจนั้นจะเป็นพันธะโควาเลนต์ หรือพันธะไอออนิก ยิ่งไปกว่านั้นค่า Electronegativity ยังสัมพันธ์กับค่าพลังงาน Ionization Energy และอิเล็กตรอน Electron Affinityซึ่ง 2 พลังงานจะกล่าวถึงถัดไปนะครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • 1. เมื่อพูดว่าค่า อิเล็กโทรเนกาติวิตี้ ให้ปรากฏตารางธาตุ ทีละอัน 1-4 • 5. เมื่อพูดว่า ฟลูออรีน ให้ปรากฏตัวหนังสือสีน้ำเงิน และเส้นลูกศรพุ่งออกไปยังจุดต่างๆ • 6. และพูดถึงฟรานเซียมให้ปรากฏตัวหนังสือสีแดง และเส้นลูกศรพุ่งไปตามจุดต่างๆ ดังภาพ

  3. Cl Cl C O ionic > 2 NaCl 2.1 ionic 801oC polar covalent 405oC BeCl2 1.5 AlCl3 1.5 polar covalent 178oC File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา PCl3 0.9 76oC polar covalent 7 1 2 5 6 3 บทนำ Cl2 0.0 covalent Electronegativity non-polar covalent= 0 + - polar covalent0-2 NaCl ค่า Electronegativity ที่แตกต่างกัน จะทำให้เราทราบถึงพันธะอย่างคร่าวๆ ว่าธาตุ 2 ชนิดที่เกิดพันธะกันเป็นพันธะชนิดไหน ตัวอย่างเช่น ค่าโซเดียมคลอไรด์ จะมีผลต่าง Electronegativity ประมาณ 2.1 นั่นคือ คลอรีน จะมีค่า Electronegativity เป็น 3 โซเดียมจะมีค่า Electronegativity เป็น 0.9 ผลต่างที่เกิดขึ้นก็คือ 2.1 เรามักจะรู้จักกันว่า โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือจะมีพันธะที่เกิดขึ้นเป็นพันธะIonic กรณีของ อลูมิเนียมคลอไรด์ (AlCl3) พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างอลูมิเนียมกับคลอรีนจะเห็นว่าอลูมิเนียมมีค่า Electronegativity ประมาณ 1.5 และคลอรีน 3 ผลต่างอะตอม 2 ชนิดที่เชื่อมกันมีค่าเพียง 1.5 เพราะฉะนั้นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมของธาตุนั้น จึงเป็นพันธะโควาเลนต์ชนิดที่มีขั้วนะครับ ส่วนต่อไปก็คือกรณีของคลอรีนมีไวเลนต์ อิเล็กตรอนที่ตัวเองทั้งหมด 7 ตัว การที่มันจะต้องการรับอิเล็กตรอนมาอีก 1 ตัว เพื่อให้เกิดเป็นอ๊อกเท็กซ์นั้นจะเกิดการแชร์อิเล็กตรอนเกิดเป็นพันธะโควาเลนต์กรณีที่เราพิจารณาถึงผลต่าง Data En ของคลอรีนทั้ง 2 ตัวจะพบว่าผลต่าง Data En มีค่าเป็น ศูนย์ สรุปได้ว่าค่าผลต่าง Data En จะเป็นตัวบอกอย่างง่ายๆ ว่าโมเลกุลหรือพันธะที่เราสนใจนั้นเป็นพันธะชนิดไหน ถ้าเกิดว่าผลต่าง Data En มีค่าเป็นศูนย์ โมเลกุลนั้นพันธะระหว่าง 2 อะตอมนั้นก็จะเป็นอะตอมพันธะโควาเลนต์ชนิดที่ไม่มีขั้ว แต่ถ้าเกิดว่าผลต่าง Data En มีค่าอยู่ระหว่าง 0 – 2 จะเป็นพันธะที่เกิดขึ้นเป็นพันธะโควาเลนต์ชนิดมีขั้วหรือถ้าเกิดว่าผลต่าง Data En ของ 2 อะตอมนั้นมีค่ามากกว่า 2 มันก็คือเป็นพันธะไอออนิกนั่นเอง • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  4. + - Ionic bonding + non-metal metal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา Groups 1 and 2 Groups 6 and 7 7 1 2 5 6 3 ไอออนิก high Electron Affinity low Ionization Energy lose 1 or 2 valence e- gain e- electron transfer takes place electrostatic attraction between cation and anion e- ขอเริ่มต้นด้วยเรื่องของพันธะไอออนิกซึ่งเป็นพันธะที่เกิดจากการจับกันระหว่าง metal หรือโลหะกับ non-metal คือ อโลหะ ชนิดที่เป็นโลหะนี้เช่น อะตอมของธาตุในหมู่1 หรือหมู่2 ธาตุหมู่นี้จะมีพลังงานไอออไนเซชั่นที่ต่ำแต่ธาตุหมู่ 6, 7 จะมีค่าพลังงานอิเล็กตรอน อาฟฟินิตี้ ค่อนข้างสูง กล่าวง่ายๆ ว่าโลหะหมู่ 1 หมู่ 2 นี้ชอบที่จะเกิดการสูญเสียอิเล็กตรอน เพราะฉะนั้นพลังงานที่ใช้ในการเกิดเป็นไอออน ได้ง่าย ใช้พลังงานต่ำก็สามารถเกิดเป็นไอออนได้แล้ว ตัวอย่างเช่น โซเดียมหรือแม็กนีเซียมสามารถเกิดไอออนบวกได้ง่าย คือโซเดียมจะเกิดเป็นไอออนบวก1 แม็กนีเซียมก็จะเกิดเป็นไอออนบวก 2 นั่นคือเกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนชนิดที่เป็นวาเลนต์อิเล็กตรอนของมันออกไป หมู่ 6 หมู่ 7 ก็คือตัวที่สามารถที่จะรับอิเล็กตรอนเข้ามาอยู่ที่ตัวเองได้ง่าย คือการสูญเสียอิเล็กตรอนจากหมู่1 หมู่ 2 ไปให้ธาตุที่เป็นอโลหะคือหมู่ 6 หมู่ 7ภาพแสดงตัวอย่างง่ายๆ เช่น โซเดียมซึ่งมีลักษณะเป็นสีแดงวงใหญ่ เมื่อเกิดเป็นไอออนโซเดียมบวกแล้ว ไซส์ของมันจะเล็กลง และเป็นประจุบวกด้วย คือสูญเสีย1 อิเล็กตรอนไป นั่นหมายถึงประจุบวกที่นิวเคลียสจะมีค่ามากกว่าอิเล็กตรอนที่อยู่ล้อมรอบ 1 บวก กรณีของคลอรีน ซึ่งเป็นลักษณะสีเหลืองวงเล็ก ตอนแรกเมื่อเกิดเป็นพันธะไอออนิกแล้วนั่นคือ เมื่อรับอิเล็กตรอนมา วงอิเล็กตรอนที่ล้อมรอบก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีประจุเป็นลบ นั่นคือมีอิเล็กตรอนที่ล้อมรอบมีมากกว่าโปรตรอนที่นิวเคลียส 1ตัว สูตรที่ใช้ในการเขียนเรื่องไอออนิก จะพิจารณาถึงจำนวนอิเล็กตรอนที่เกิดการให้และรับนั่นเอง ก็คือโซเดียมให้1อิเล็กตรอน คลอรีนรับ1อิเล็กตรอน ก็จึงเป็นโซเดียมคลอไรด์ NaClแต่ถ้าแม็กนีเซียมให้ 2 อิเล็กตรอน แต่คลอรีนรับเพียง 1 อิเล็กตรอน สูตรที่ใช้ก็จะเป็น NgCl2คือ Ng ให้ 2 อิเล็กตรอนและคลอรีนต้องใช้ถึง 2 ตัวเพื่อมารับ 2 อิเล็กตรอนนั้น สูตรก็จะเป็น NgCl2นั่นเองครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อพูดถึงเสียงตัวหนังสือสีม่วง ค่อยปรากฏ ค่อยปรากฏสมการและข้อความกรอบสีแดง • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ formula = ratio of anions to cations

  5. + - Ionic sizes e- File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 ไอออนิก isoelectronic series same # electrons 46 e- เมื่อพูดถึงไซส์ที่ได้กล่าวไปแล้ว ขอย้ำอีกนิดนึงว่าไอออนิกไซส์ หรือไซส์ของไอออนที่เกิดขึ้น จะมีไซส์ที่เล็กลงเมื่อประจุเกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนออกไป แต่ถ้าเกิดว่ามันรับอิเล็กตรอนเข้ามาไซส์ก็จะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นนะครับ ในกรณีที่มันใหญ่ขึ้นจะพบว่า ความแตกต่างของการรับอิเล็กตรอนมา 1 ตัวหรือ 2 ตัว ที่เปรียบเทียบระหว่างฟลูออรีนกับออกซิเจน ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ขอย้ำเพียงแค่ว่าการให้อิเล็กตรอนออกไปไซส์จะเล็กลง แต่ถ้ารับอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวไซส์จะใหญ่ขึ้นเพียงเท่านี้ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ ions get smaller +49 +50 +51

  6. Ionic bonding + non-metal metal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา Na (s) 2  2 NaCl (s) + Cl2 (g) 7 1 2 5 6 3 ไอออนิก http://jchemed.chem.wisc.edu/JCESoft/CCA/CCA0/Movies/NACL1.html negative exothermic heat given off Ionization Energy Na Na+ + 496 kJ/mol Electron Affinity Cl Cl- -349 kJ/mol E = -504 kJ/mol Lattice Energy k Q1 Q2 d Coulomb’s law เรื่องไอออนิกบอร์นดิ้ง เราจะเริ่มพิจารณาตั้งแต่โลหะโซเดียมที่เป็นของแข็งนะครับ เมื่อต้องการให้เป็นเกลือโซเดียมคลอไรด์ ซึ่งเป็นพันธะไอออนิก โซเดียมบวกและคลอไรด์ลบ การเริ่มต้นคือเริ่มจากโซเดียมที่เป็นของแข็งแล้วถูกทำให้กลายเป็นแก๊ส จะถูกดึงอิเล็กตรอนออกไป พลังงานที่ใช้ในขั้นตอนนี้เรียกว่าเป็นพลังงานไอออไนเซชั่น ซึ่งจะใช้ประมาณ 496 กิโลจูนต่อโมล สุดท้ายเราจะได้เป็นโซเดียมบวกและอิเล็กตรอนที่วิ่งออกมาจากตัวโซเดียม กรณีของคลอรีน Cl2 ต้องให้ความร้อน เพื่อให้มันเกิดเป็นคลอรีนอะตอมเดี่ยวในสภาวะแก๊สก่อน หลังจากนั้นเจ้าคลอรีนอะตอมสภาวะแก๊สนี้ ก็จะไปดึงอิเล็กตรอนที่หลุดลอยออกมาจากโซเดียมนั้นเข้ามาอยู่ที่ตัว และเกิดไปเป็นคลอไรด์ไอออน การที่คลอรีนจะไปดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวนั้นสามารถเกิดได้เองอย่างง่าย พลังงานที่ใช้จึงติดลบ หมายความว่ารับอิเล็กตรอนเข้ามาแล้วมีการคายพลังงานออกมา แสดงถึงความมีเสถียรภาพที่ดีมากๆ จากขั้นตอนที่เกิดขึ้นทั้งหมดจะมีโซเดียมบวกและคลอไรด์ลบ การจับกันของ 2 ไอออนนี้ อยู่ได้ด้วยพลังงานยึดติดที่เป็นพลังงานแรงทางไฟฟ้าซึ่งเป็น แลททีสเอ็นเนอจี้ ที่คำนึงถึงเรื่องของ คูลลอมลอว์ ก็คือประจุบวกและประจุลบที่อยู่ติดกันและหารด้วยระยะห่างของประจุทั้ง 2 นั้น สรุปง่ายๆ อาจจะกล่าวได้ว่าโซเดียมสูญเสียอิเล็กตรอนไปแล้วเกิดเป็นโซเดียมบวก และคลอรีนรับอิเล็กตรอนมาเป็นคลอไรด์ลบรวมกันเกิดเป็นโซเดียมคลอไรด์ แรงยึดติดเป็นแรงทางไฟฟ้า • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ NaCl Na+ Cl- +

  7. Metallic Bonding metal + metal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา metals valence e- well shielded 7 1 2 5 6 3 ไอออนิก low Ionization Energy low Electron Affinities share valence e- not localized between atoms delocalized move freely throughout metal พันธะโลหะพิจารณาง่ายมากเลยครับ คืออะตอมของโลหะมาต่อเชื่อมกัน เป็นลักษณะการเรียงอิเล็กตรอนที่เรียงกันไปเรื่อยๆ และมีรูปร่างโครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะที่ขูดขีดได้ ก็คือเป็นลักษณะของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนไหลไปได้ เป็นทะเลอิเล็กตรอนนั่นเอง ตัวย่างเช่น โซเดียม อิเล็กตรอนวงนอกแทนที่จะอยู่ที่ตัวของมันเอง มันก็สามารถวิ่งไปที่อะตอมของตัวอื่นได้ และอะตอมอิเล็กตรอนที่อยู่ที่อะตอมของตัวอื่นก็วิ่งถัดไป มีการวิ่งเวียนไปของวาเลนต์อะตอมเหล่านี้ได้ ลักษณะพิเศษของพันธะโลหะ คือสามารถนำไฟฟ้าได้ การนำไฟฟ้าได้เกิดขึ้นจากการไหลเวียนของวาเลนต์อิเล็กตรอนไปสู่อะตอมอื่นได้นั่นเอง นอกจากนั้นแล้วเมื่อเราขูดขีดผิวของโลหะจะเห็นว่ามีลักษณะที่บุบและก็งอเป็นลายตามที่ขูดขีดนั่น คือการซ้อนทับหรือการเหลื่อมกันของอะตอมโลหะนั้น สามารถบิดเบี้ยวหรือเปลี่ยนรูปทรงได้ง่ายกว่ากรณีพันธะของอื่นๆ ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ Na (nucleus and core e-) e- “sea” (valence e-)

  8. Lewis electron-dot symbols element symbol = nucleus + core e- File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา one “dot” = valence e- 7 1 2 5 6 3 ไอออนิก metals dot = e- it loses to form cation หลังจากเรารู้จักว่าการสูญเสีย หรือการได้รับอิเล็กตรอนของโลหะและอโลหะแล้ว ตอนนี้อยากนำเสนอถึง Lewis electron-dot symbols หรือตัวบ่งบอกว่าอิเล็กตรอนวงนอกในอะตอมของธาตุแต่ละชนิดนั้นมีการวิ่งเวียนหรือมีจำนวนอิเล็กตรอนอยู่เท่าไหร่บ้าง ง่ายๆ เบื้องต้นก็คือ จะดูที่หมู่1 จะมีวาเลนต์อิเล็กตรอนอยู่เพียง 1 ตัว วาเลนต์อิเล็กตรอนเกิดจากอะไร ตัวอย่างนะครับ โซเดียมซึ่งมีอิเล็กตรอนทั้งหมด 11 ตัว จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 1S2, 2S2, 2P6และ 3S1นั่นหมายความว่า อิเล็กตรอนชั้นนอกสุดคือชั้นที่ 3 มีอิเล็กตรอนเพียงแค่ 1 ตัว ซึ่งจัดเรียงในลักษณะของ 3S1 เท่านั้น เลยทำให้อิเล็กตรอนวงนอกมีเพียงแค่ 1 อิเล็กตรอน จุดที่เกิดขึ้นก็คือเป็นเพียงแค่ 1 จุด กรณีของแม็กนีเซียม ซึ่งมีอิเล็กตรอนเป็น 12 และวาเลนต์อิเล็กตรอนคือ 3S2 มีการจัดเรียง dot เป็นทั้งหมดคือ 2 dot นั่นเองครับ กรณีของฟลูออรีน คลอรีน โบลีด้า อะดีน เป็นธาตุหมู่เจ็ดมีจุดทั้งหมด 7 จุดนะครับ สำหรับหมู่ 5 คือ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส วาเลนต์อิเล็กตรอนก็จะเป็น 5 dot, และ 6 dot สำหรับหมู่ 6 และ 7 dot สำหรับหมู่ 7 ตามลำดับนั่นเอง สำหรับ dot ที่เกิดขึ้นตรงนี้ พันธะ Ionic คือถ้าเป็นโลหะก็คือหมู่ 1 หมู่ 2 โอกาสที่จะสูญเสียเวเลนต์อิเล็กตรอนไป คือสูญเสีย 1 อิเล็กตรอนสำหรับโซเดียม, สูญเสีย 2 อิเล็กตรอนสำหรับแม็กนีเซียม เพื่อเกิดเป็นประจุบวก และก็เกิดการรับอิเล็กตรอนเข้ามาที่หมู่ 7 เป็น F- เป็น Cl-เป็น Br-เพื่อที่จะจับกันแล้วเกิดเป็นพันธะไอออนิกได้ นี่เป็นตัวอย่างของการให้และรับอิเล็กตรอนนั่นเอง แต่ในบางกรณี dot symbols เหล่านี้จะถูกนำมาใช้ร่วมกันซึ่งจะเกิดเป็นพันธะโควาเลนต์จะกล่าวถึงต่อไปครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ non-metal e- paired through unpaired dot = e- gain or sharing

  9. Na (s) 2  2 NaCl (s) + Cl2 (g) : : : + Cl- : Ionic bonding + non-metal metal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 : . : . Na Na+ + Cl ไอออนิก : [Ne] [Ar] 3s1 3s23p5 [Ne] [Ne]  2 CaO (s) + O2(g) Ca(s) 2 . . . : : Ca O . [Ar]4s2 [He]2s2 2p4 Ca2+ O2- เราได้รู้จัก dot symbols จากก่อนหน้านี้แล้ว ขอย้ำในเรื่องของการเกิดพันธะไอออนิก จากตัวอย่างที่เราแสดงก็คือ เปลี่ยนโซเดียมโซลิคให้เป็นโซเดียมแก๊สนี้ จะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น 3S1 คลอรีนจากเป็น Cl2ถูกเปลี่ยนเป็น Cl1อะตอม ซึ่งมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น 3S2และ 3S5 การสูญเสียอิเล็กตรอนของโซเดียม 3S1นี้หลุดออกไป เกิดการจัดเรียงตัวคล้ายกับนีออน จึงแสดงเป็นรูปของนีออนและโซเดียมบวกนั่นเอง กรณีของคลอรีน เมื่อรับอิเล็กตรอนมาจะมีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นเป็น 3S2และ 3P63S2และ 3P6 จะมีการจัดเรียงตัวคล้ายกับอาร์กอน แต่ตัวคลอรีนเองจะมีประจุลบ เพราะว่ามีอิเล็กตรอนที่วิ่งล้อมรอบมากกว่าโปรตรอนที่นิวเคลียสอยู่ 1 มันก็เป็น Cl-นั่นเอง กรณีของแคลเซียมออกไซด์ มีลักษณะที่คล้ายกัน คือแคลเซียมมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็นอาร์กอนและ CS2เมื่อไปจับกับออกซิเจนซึ่งมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น 6 ซึ่งคือ 2S2และ 2P6ก็จะทำหน้าที่รับ 2 อิเล็กตรอนที่เกิดจากแคลเซียม ก็จะเป็นออกซิเจน 2 ลบซึ่งมีการจัดเรียงตัวคล้ายกับนีออน กรณีของแคลเซียมเมื่อสูญเสียไป 2 อิเล็กตรอนก็จะจับเรียงตัวคล้ายกับอาร์กอนนั่นเอง กรณีของSn, Pb, Bi, Tlก็จะเป็นอยู่ในกรณีที่ยกเว้น จะไม่กล่าวถึงครับ • แสดงแอนิเมชั่น รอถามอาจารย์ค่ะ [Ar] [Ne] Sn, Pb, Bi and Tl exceptions

  10. Covalent bonding non-metal + non-metal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา electrons shared between atoms 7 1 2 5 6 3 พันธะโควาเลนท์ high Ionization Energies high Electron Affinities electron density between the atoms distance between atoms = bond length formula = actual # atoms Covalent bond คือเป็นพันธะชนิดโควาเลนท์ คือการใช้อิเล็กตรอนวงนอกร่วมกัน ซึ่งมักจะเกิดในอะตอมของธาตุที่เป็นอโลหะ เนื่องจากอะตอมของธาตุเหล่านี้ มักจะมีค่าพลังงานไอออไนเซชั่นที่สูงและมีพลังงานอิเล็กตรอน อาฟฟฟินิตี้ ที่สูงเช่นกัน การที่มันจะสูญเสียเพื่อให้เกิดเป็นประจุบวกหรือรับอิเล็กตรอนเพื่อให้เกิดเป็นประจุลบ จึงเกิดได้ยาก แต่การที่จะทำให้เกิดเป็นพันธะและมีการจัดเรียงตัวให้คล้ายกับอะตอมของ โนเบิลแก๊ส หรือเป็นไปตามอ๊อกเท็กซ์รู คือมีอิเล็กตรอนอยู่ล้อมรอบตัวมันให้ครบ 8 นั้นก็สามารถจะทำได้ยาก electron density หรืออิเล็กตรอนที่ร่วมกันนี้ จะอยู่ระหว่างอะตอมทั้ง 2 ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงความหนาแน่นของอิเล็กตรอน ยังเป็นตัวบอกถึงชนิดพันธะด้วย และเป็นตัวบอกถึงความยาวของพันธะระหว่างอะตอมของทั้ง 2 ชนิดด้วยเช่นกัน กรณีของสูตรโครงสร้างที่เกิดขึ้น จะขึ้นอยู่กับจำนวนอะตอม ขึ้นอยู่กับลักษณะพันธะที่เกิดขึ้น ขึ้นอยู่กับชนิดของพันธะที่เกิดขึ้นด้วย ซึ่งจะกล่าวถึงหัวข้อถัดไปครับ • แสดงแอนิเมชั่น รอถามอาจารย์ค่ะ

  11. . . H H H H . . File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 Covalent bonding พันธะโควาเลนท์ non-metal + non-metal + [He] 1s1 1s1 พันธะโควาเลนต์ พิจารณาอย่างง่ายเลยเราจะดูค่า data En หรือค่าผลต่างของ Electron Affinities ซึ่งถ้าเป็นพันธะโควาเลนต์จะต้องมี data En อยู่ในระหว่าง 0 – 2 การที่ไฮโดรเจนมาจับกันจะมีผลต่าง date En เป็น 0 เพราะฉะนั้นโมเลกุลนี้จะไม่มีขั้ว แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ไฮโดรเจนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนของมันคือ 1S1เมื่อไฮโดรเจนอยู่ห่างกัน ระยะห่างจะมีพลังงานที่ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก คือยังเป็น 0 อยู่ครับ เมื่อเรานำอะตอมของไฮโดรเจนทั้ง 2 ตัวเข้าใกล้กันมากขึ้นจนถึงระดับนึง จะพบว่ามีพลังงานลดต่ำลงเรื่อยๆ จนกระทั่งลดต่ำลงมากที่สุดค่านึง ซึ่งคือค่า -458 กิโลจูนต่อโมล จะทำให้ได้ค่าระยะห่างระหว่าง 2 อะตอมของไฮโดรเจนเป็น 0.074 นาโนเมตร ตรงนี้จะเป็นตัวบอกว่าระยะห่างระหว่างพันธะ นั่นคือความยาวพันธะที่ทำให้อะตอมของไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมกันอยู่อย่างเสถียรหรือมีพลังงานต่ำที่สุด ค่านี้เป็นความยาวพันธะและเป็นพลังงานพันธะที่ต่ำที่สุดที่เกิดขึ้น ณ ความยาวนั้นนั่นเอง แต่ถ้าเราบีบบังคับให้อะตอมของไฮโดนเจนเข้าใกล้กันมากขึ้น ค่าพลังงานจะเพิ่มขึ้นตามลำดับ และมีค่าเพิ่มมากที่สุดเมื่ออะตอม 2 ไฮโดรเจนนี้ซ้อนทับกันอย่างสนิท จะพบว่าค่าพลังงานที่เกิดขึ้นจะมีค่าเป็นค่าบวกนั่นเอง • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ

  12. Lewis structure . : : : : : . : : : . : : F F F F F : : : : : . . : . . H H O : : . : F + : File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา [He]2s22p5 [Ne] 7 1 2 5 6 3 lone pairs Lewis structure e- not used in bonding shared e- bonding pair shared equally between F : . . . H O : 1s1 [He]2s22p4 [He] [Ne] oxygen Lewis structure ของการใช้อิเล็กตรอนวงนอกร่วมกัน ตัวอย่างที่นำเสนอเป็นของฟลูออรีน ซึ่งมีอิเล็กตรอนวงนอกเป็น 2S2และ 2P5 ซึ่งมี 7 อิเล็กตรอนและต้องการอีก 1 อิเล็กตรอน เพื่อให้ครบ 8 เป็นไปตามกฎ “อ๊อกเท๊กซ์” นะครับ ดังนั้น ฟลูออรีนตัวที่ 1 กับ ฟลูออรีนตัวที่ 2 จึงนำมาแชร์ อิเล็กตรอนวงนอกด้วยกัน โดยการแชร์ก็คือตัวแรกต้องการเพียง 1 อิเล็กตรอน ตัวหลังก็ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนเหมือนกัน มันจึงใช้อิเล็กตรอนเพียงแค่ 1 อิเล็กตรอน ระหว่างฟลูออรีนซึ่งกันและกัน เมื่อมันใช้อิเล็กตรอนซึ่งกันและกันแล้ว เมื่อพิจารณาฟลูออรีนตัวแรก จะพบว่ามีจุดที่อยู่ล้อมรอบทั้งหมด 8 จุด กรณีของฟลูออรีนตัวที่2 ก็เป็นไปในลักษณะคล้ายคลึงกัน อิเล็กตรอนที่อยู่ระหว่างอะตอมของฟลูออรีนทั้งคู่มี 2 อิเล็กตรอน ซึ่งพันธะที่เกิดขึ้นคือ “พันธะเดี่ยว” นั่นเอง กรณีของพันธะคู่จะมีอิเล็กตรอนที่อยู่ระหว่างพันธะนี้เป็น 4 อิเล็กตรอน และพันธะ 3 จะมีอิเล็กตรอน ที่อยู่ระหว่างอะตอมทั้งคู่เป็น 6 อิเล็กตรอน ตามลำดับครับ กรณีโมเลกุลของน้ำ อ็อกซิเจนมีโควาเลนต์ อิเล็กตรอน 6 ไฮโดรเจนมีไวเร้นอิเล็กตรอน 1 ออกซิเจนต้องการอีก 2 อิเล็กตรอน เพื่อให้ครบ 8 ดังนั้นมันจึงแชร์พันธะ กับไฮโดรเจน 2 อิเล็กตรอน เพราะฉะนั้นจะเหลือ 4 อิเล็กตรอนที่ไม่ได้แชร์พันธะ เราเรียกเป็น 2 คู่ lone pairs ครับ ที่ไม่ได้เกิดการแชร์อิเล็กตรอนกับคนอื่นครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ 2 lone pairs bonding pair not shared equally

  13. Lewis Structures visualize molecular structure File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 assume most atoms will have octet of electrons Lewis structure 1. Determine number of valence electrons 2. Place least electronegative atom at center • Using e- pairs, bond central atom to surrounding • atoms 4. Complete octets on surrounding atoms เรื่องพันธะโควาเลนต์ การทำนายรูปร่างโครงสร้างของโมเลกุลนั้น เราจะสามารถทำได้เบื้องต้นจาก Lewis Structures คือการดูว่าอะตอมกลางนั้นมีเท่าไหร่ แล้วมันจะแชร์อิเล็กตรอนกับอะตอมข้างเคียงเท่าไหร่ เพื่อให้เป็นไปตามกฎอ๊อกเท็กซ์ คือกฎที่ทำให้อะตอมของธาตุนั้นมีอิเล็กตรอนโดยรอบครบ 8 ลำดับที่ 2 เขียนธาตุที่มี electronegative น้อยไว้รอบๆ ว่าเป็นเท่าไหร่ได้บ้าง ลำดับที่ 3 คือนับจำนวนอะตอมที่อะตอมกลางนั้นต้องการ เพื่อเชื่อมกับอะตอมของธาตุที่เราสนใจอีกธาตุหนึ่ง เพื่อใส่เข้ามาแล้วให้เกิดครบ 8 คือใช้ electron paire หรือ bond zentral atom นั่นคือนับจำนวนอะตอมรอบๆ อะตอมกลางนั้นให้เป็นไปอย่างที่เราต้องการครับ อันที่ 4 นับให้ครบ 8 นับอะตอม นับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ ตรงนั้นให้ครบ 8 อันที่ 5 คือ นับจำนวนแล้วทำให้ครบ 8 นั่นเองครับ คือถ้าฟังดูแล้วดูลำบากนิดนึง แต่ว่าขอให้ดูแล้วกันครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ 5. Place remaining e- on central atom. Use multiple bonds to complete octet, if necessary

  14. : : : : : F F N : : : : F : nitrogen trifluoride NF3 valence e- N = 5 5 + (3 x 7) = 26 e- File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา F = 7 7 1 2 5 6 3 Lewis structure ตัวอย่าง central atom = N bond F to N : : : : : : : F F N 6 e- complete octets : : : : : F 24 e- surrounding atoms : 26 e- complete octet ตัวอย่างการเขียนโครงสร้างแบบจุด Lewis Structures (NF3) เริ่มต้นเราจะนับเวเลนต์อิเล็กตรอนของอะตอมของธาตุที่เกี่ยวข้องก่อน นั่นคือคือ ไนโตรเจน ซึ่งมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 5 แล้วก็ฟลูออรีนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 เพราะฉะนั้นเมื่อนับรวมแล้วจะได้ว่าอะตอมของธาตุที่เราสนใจนั้น มีจำนวนอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 27 อิเล็กตรอน เริ่มต้นการเขียนเวเลนต์อิเล็กตรอน ให้ใช้ธาตุที่มีค่า electronegative ที่น้อยกว่า ถ้าเปรียบเทียบระหว่าง N กับ F จะพบว่าไนโตรเจนจะมีค่า electronegative ที่น้อยกว่าฟลูออรีน ก็จะใช้ไนโตรเจนเป็นอะตอมกลางครับ และไนโตรเจนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ทั้งหมด 5 ตัว เพราะฉะนั้นจุด Lewis ของไนโตรเจนจึงมีอยู่ 5 จุด หลังจากนี้จะ form bond กับฟลูออรีนจำนวน 3 ตัว เพื่อเป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างไนโตรเจนกับฟลูออรีนแต่ละตัว เพื่อจะใช้ในการแชร์พันธะทั้งหมด 3 พันธะ ดังนั้น เมื่อนับจำนวนอิเล็กตรอนรอบๆ ฟลูออรีนแต่ละตัว ก็จะครบ 8 กรณีของไนโตรเจนก็เช่นกัน เพราะฉะนั้นอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในการรวมก็จะพบว่าทั้งหมด 24 อิเล็กตรอน เมื่อเป็นไปตามกฎของอ๊อกเท็กซ์แล้ว พันธะที่เกิดขึ้นระหว่าง N กับ F ต่างใช้ 2 อิเล็กตรอนซึ่งคือพันธะเดี่ยวทั้งหมด ในขณะเดียวกันไนโตรเจนมี 2 อิเล็กตรอน ที่ไม่ได้ใช้ในการเกิดพันธะใดๆ กับธาตุอื่นเราจึงเรียกว่าไนโตรเจนมี 1คู่ lone pair ที่เหลือ central atom • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • เมื่อคลิก “คลิกที่นี่” แล้วปรากฏ pop up แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ • หาภาพประกอบเพิ่มเติมค่ะ include lone pairs

  15. C O bond : : : : : : : : : : O C O O C O O C O : : : : : : : : : : : : O O O : : carbonate ion CO32- 4 + (6 x 3) = 22e- valence e- C = 4 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา charge = 2- O = 6 24e- 7 1 2 5 6 3 Lewis structure ตัวอย่าง C=O bond shorter : : : : O C O stronger : : : : O : resonance structures อีกตัวอย่างคือ carbonate CO32-เราพบว่าเวเลนต์อิเล็กตรอนของคาร์บอนมี 4 และออกซิเจนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว หลังจากนั้นเรามีประจุข้างนอกอีก 2 ลบ เพราะฉะนั้นอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในโมเลกุลนี้คือ 24 อิเล็กตรอน การวาด Lewis Structuresของโมเลกุลนี้คยากนิดนึง เราเริ่มต้นที่ตำแหน่งของคาร์บอน ซึ่งแต่เดิมมี 4 อิเล็กตรอน หลังจากนั้นจะเกิดพันธะคู่กับออกซิเจน โดยมีการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันกับออกซิเจน 1 โมเลกุล ทำให้เกิดการใช้อิเล็กตรอนระหว่างพันธะนั้นทั้งหมด 4 อิเล็กตรอน ซึ่งจะเกิด C doulble bond O หรือว่าเป็น คาร์บอนกับออกซิเจน 1 พันธะคู่ หลังจากนั้น ออกซิเจนอีก 2 ตัวที่เหลือ ก็จะเข้ามาล้อมรอบตำแหน่งของคาร์บอนทั้งหมดด้วยเช่นกัน เพราะฉะนั้นเมื่อคาร์บอนเกิดพันธะคู่กับ 1 โมเลกุลของออกซิเจนเรียบร้อยแล้ว จะทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่ล้อมรอบของคาร์บอนมีค่าทั้งหมดเป็น 8 โดยเกิดจากตัวคาร์บอนเอง 4 อิเล็กตรอน ฟอร์มบอนกับพันธะของออกซิเจน โดยใช้อิเล็กตรอนดึงอิเล็กตรอนจากออกซิเจนมา 2 ตัวและใช้อิเล็กตรอน 2 ตัวของตัวคาร์บอนเองแชร์ให้เกิดพันธะโควาเลนต์ และมีประจุลบที่เกิดขึ้นจากภายนอกที่ใส่เข้ามารอบๆ อะตอมของคาร์บอนอีก 2 อะตอม เมื่อนับรวมแล้วจึงทำให้อิเล็กตรอนทั้งหมดล้อมรอบคาร์บอนครบ 8 คาร์บอนที่มีอิเล็กตรอนเหลืออีก 4 ตัวก็จะแยกเป็น 2 กรณีคือ กรณีแรกคาร์บอนจะให้ 2 อิเล็กตรอนที่มีและไม่ได้เกิดพันธะในตอนต้นนี้ให้กับออกซิเจน โดยออกซิเจนแต่เดิมมี 6 อิเล็กตรอนเมื่อรับ 2 อิเล็กตรอนของคาร์บอนและประจุลบที่เกิดขึ้นที่คาร์บอนนี้ไปก็จะทำให้เกิดเป็นพันธะเดี่ยวขึ้น • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  16. C O bond : : : : : : : : : : O C O O C O O C O : : : : : : : : : : : : O O O : : carbonate ion CO32- 4 + (6 x 3) = 22e- valence e- C = 4 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา charge = 2- O = 6 24e- 7 1 2 5 6 3 Lewis structure ตัวอย่าง C=O bond shorter : : : : O C O stronger : : : : O : resonance structures ในกรณีของคาร์บอนอีก 1 อะตอมก็ ประพฤติในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน นั่นหมายความว่าคาร์บอน เดิมมีเวเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ 4 และแชร์อิเล็กตรอนร่วมกับออกซิเจน 1 โมเลกุล เพื่อเกิดเป็นพันธะคู่ 2 อิเล็กตรอน และมีประจุลบจากภายนอกอีก 2 ประจุลบเข้ามาอยู่บริเวณล้อมรอบอะตอมของคาร์บอน ทำให้ปัจจุบันอะตอมของคาร์บอนครบ 8 แล้วหลังจากนั้นคาร์บอนก็จะให้ 2 อิเล็กตรอนที่มีอยู่ให้กับออกซิเจนยืม ในกรณีเดียวกันก็ให้อีก 2 ออกซิเจนให้กับ 2 อิเล็กตรอนกับ 1 ออกซิเจนยืม จึงทำให้เกิดเป็นคาร์บอนแล้วเกิดเป็นพันธะคู่กับออกซิเจน เปรียบเสมือนเกิดเป็นพันธะเดียวกันกับ 2 ออกซิเจนอีกเช่นกัน สำหรับตำแหน่งตรงกลางของคาร์บอนจะมี 2 ประจุลบติดอยู่ด้วย ลักษณะเช่นนี้พันธะคู่ที่เกิดขึ้นสามารถเปลี่ยนตำแหน่งไปได้เรื่อยๆ เรียกว่าเกิดเป็น resonance structures จะเห็นว่าพันธะคู่ได้เปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  17. Exceptions to octet rule 2. Incomplete octets (fewer than 8 e-) File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 B Be (Al) กฏอ๊อกเท็กซ์ boron trifluoride BF3 3 + (3 x 7) = 24e- : : : : F F B : : : F : : กรณีที่ยกเว้นที่ไม่เป็นไปตามกฎอ๊อกเท็กซ์ คือจำนวนอิเล็กตรอนที่อยู่ล้อมรอบอะตอมกลางนั้นมีปริมาณน้อยกว่า 8 ตัวอย่างที่จะนำเสนอก็คือ BF3 boron มีจำนวนตัวเล่นอิเล็กตรอนทั้งหมด 3 กรณีของฟลูออรีนมีอยู่อิเล็กตรอนล้อมรอบอยู่ 7 ตัว BF3 เพราะฉะนั้น boron มี 3 อิเล็กตรอนสามารถที่จะเกิดพันธะได้กับอะตอมของธาตุอื่น โดยการใช้อิเล็กตรอนที่มีอยู่ทั้ง 3 ตัวเกิดพันธะโควาเลนต์กับตัวอื่นได้ ในกรณีนี้ boron สามารถฟอร์ม 3 พันธะซึ่งเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด กับฟลูออรีนได้ คือใช้ฟลูออเลนต์อิเล็กตรอนของ boron เอง 1 อิเล็กตรอนแชร์กับ 1 ฟลูออรีน เมื่อ boron มีอยู่ 3 อิเล็กตรอนจึงสามารถแชร์ได้ 3 bon ลักษณะจึงเป็น BF3 ซึ่งเป็นลักษณะสามเหลี่ยมแบนราบ สำหรับจำนวนอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในโมเลกุลนี้ทั้งหมดจะมีอยู่ 24 อิเล็กตรอน จะเห็นว่าจำนวนอิเล็กตรอนที่อยู่ล้อมรอบ boron ตอนนี้ไม่ได้เป็น 8 แล้วแต่มีเพียงแค่ 6 เพราะฉะนั้นลักษณะนี้จึงเป็นลักษณะข้อยกเว้นของกฏอ๊อกเท็กซ์ ซึ่งเกิดขึ้นกับธาตุบางชนิดอย่างเช่น boron หรือ อลูมิเนียม เป็นต้น • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  18. : : : Cl : : : : Cl Cl : : : : : : Cl Cl : : Exceptions to octet rule 3. Expanded octet more than 8 e- File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา must have d orbitals only Period 3 and above 7 1 2 5 6 3 กฏอ๊อกเท็กซ์ phosphorous pentachloride PCl5 5 + (5 x 7) = 40e- P กรณียกเว้น เมื่ออะตอมกลางมากกว่า 8 ตัวอย่างนี้คือ PCl5 PCl5 , P ตัว ฟอสฟอรัสนี้ จะมีอิเล็กตรอนโดยรอบอยู่จำนวน 5 ตัว เป็น dirence electron เมื่อ 5 อิเล็กตรอนนี้เกิดเป็นพันธะกับธาตุอื่น ก็จะใช้แต่อะตอมที่มีอยู่นั้นฟอร์มบอนกับอะตอมของธาตุอื่นได้ ตัวอย่างที่นำเสนอคือคลอรีน มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 ตัวต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนเพื่อให้ครบ 8 ดังนั้น จึงเกิดพันธะโควาเลนต์กับฟอสฟอรัส พบว่าฟอสฟอรัสมีโควาเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ 5 ตัว จึงเกิดเป็นพันธะเดี่ยวกับฟอสฟอรัสได้ทั้งหมด 5 แขนด้วยกัน อิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในโมเลกุลนี้ทั้งหมดมีจำนวน 40 อิเล็กตรอนรูปร่างที่เกิดขึ้นจะเป็นรูปร่างของฟอสฟอรัสที่มีคลอรีนเกาะอยู่ทั้งหมด 5 แขนด้วยกัน จึงเป็นลักษณะของพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยมครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  19. Molecular Geometry bond length, angle determined experimentally File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา Lewis structures bonding 7 1 2 5 6 3 Molecular Geometry geometry VSEPR Valence Shell Electron Pair Repulsion octahedron 90o bond angles small groups big groups รูปร่างของโมเลกุลนี้ ขออธิบายในส่วนลักษณะของ VSEPR ซึ่งย่อมาจากคำว่า Valence Shell Electron Pair Repulsionจะพิจารณาถึงอะตอมกลางนั้นเกิดพันธะโควาเลนต์กับอะตอมข้างเคียงแล้ว และมี lone pair electron ที่เหลืออีกเท่าไหร่ ก็จะส่งผลให้รูปร่างของโมเลกุลนั้นมีลักษณะที่แตกต่างกัน เบื้องต้นรูปร่างที่นำเสนอหรือแสดงตรงนี้เป็นรูปร่างของ Octahedron พบว่าอะตอมที่อยู่บริเวณพื้นราบทั้งหมด 4 อะตอมและอยู่ด้านบนและล่างอีกอย่างละ 1 อะตอม มุมระหว่างพันธะของแต่ละอะตอมต่างเป็น 90 ซึ่งกันและกัน ตัวอย่างอีกหนึ่งที่นำเสนอคือ รูปร่างลักษณะที่เป็น 3 เหลี่ยมแบนราบอยู่บริเวณ plan กลางและมีอะตอมอยู่ด้านบน 1 อัน อยู่ด้านล่าง 1 อะตอม พบว่ามุมที่อยู่ตามแนวพื้นราบ 3 อะตอมนั้นต่างทำมุม 120 องศาซึ่งกันและกัน ซึ่งจะทำมุม 90องศากับอะตอมที่อยู่ทางด้านบนและล่างตามลำดับ รูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นในลักษณะรูปร่างอันล่างนี้เราจะเรียกว่า trigonal bipyramid หรือพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยม กรณีที่เกิดเป็นรูปด้านบนจะถูกเรียกว่า equatorial หรือเป็นรูปทรงเหลี่ยม 8 หน้า • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย trigonal bipyramid equatorial 120o axial 180o

  20. tetrahedron 109.5o File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 Molecular Geometry trigonal planar 120o linear 180o • รูปร่างถัดมาคือ อะตอมของธาตุที่เกิดพันธะกับอะตอมอื่นๆ ทั้งหมด 4 อะตอมหรือเกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียงแล้วมี lone pair เหลืออยู่ 2 คู่ lone pair • ซึ่งจะทำให้รูปร่างที่เกิดขึ้นทั้งหมดเปรียบเสมือนมี 4 ก้อนที่อยู่กันอย่างรอบอะตอมกลาง พบว่า 4 อะตอมนี้จะถูกวางจัดเรียงตัวในลักษณะใหม่เป็นลักษณะที่เสถียรมีชื่อว่า tetrahedron หรือทรงเหลี่ยม 4 หน้า ลักษณะที่เกิดขึ้นมีอะตอมที่อยู่บริเวณพื้นฐานทั้งหมด 3 อะตอมและอยู่ด้านบนอีก 1 อะตอม มุมที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมต่างๆ จะอยู่ประมาณ 109.5 ซึ่งจะเท่ากันในทุกๆ มุม • บางกรณีที่มี lone pair electron เหลืออยู่ จะสามารถทำให้มุมที่เกิดขึ้นนี้ลดลงได้ ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีของน้ำหรือแอมโมเนีย เป็นต้น • บางกรณีที่เกิดขึ้นเป็นโมเลกุลที่มีการจับกับอะตอมข้างเคียงทั้งหมด 3 อะตอม เช่น BS3จะทำให้โมเลกุลที่ได้นั้นมีรูปร่างเป็น trigonal planar หรือ 3 เหลี่ยมแบนราบ ซึ่งแต่มุมที่เกิดขึ้นในแต่ละอะตอมเป็น 120o • บางกรณีเกิดอะตอมลักษณะเส้นตรง คืออะตอมกลาง จับกับอะตอมข้างเคียงได้ 2 อะตอมหรือจับแล้วให้มีรูปร่างที่เส้นตรง เช่น BeCl2 Be เป็นธาตุหมู่ 2 เมื่อจับกับอะตอมของธาตุอโลหะที่จะต้องใช้อิเล็กตรอนเพื่อเกิดเป็นโควาเลนต์ทั้งฝั่งด้านซ้ายและขวา จะเกิดได้เพียง 2 พันธะเท่านั้น แต่ละด้านจะทำมุมเป็นเส้นตรงซึ่งกันและกันมุมเป็น 180 • บางกรณีที่พบเป็นลักษณะของ linear เช่น CO2หรือคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งคาร์บอนมีวาเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ 4 ตัวจะแชร์อิเล็กตรอนกับออกซิเจนฝั่งซ้าย 2 อิเล็กตรอนเกิดเป็นพันธะคู่ โดยใช้อิเล็กตรอนที่คาร์บอนและ 2 อิเล็กตรอนจากออกซิเจน จึงเกิดพันธะอิเล็กตรอนเกี่ยวข้องทั้งหมด 4 อิเล็กตรอน ลักษณะเดียวกันในด้านขวาของคาร์บอน จึงเกิดเป็นโมเลกุลที่มีพันธะคู่ 2 ฝั่งทั้งด้านซ้ายและขวามุมที่เกิดขึ้นจึงเป็น 180oและรูปร่างโมเลกุลมีลักษณะเป็นเส้นตรง ดังที่แสดงไว้ด้วยเช่นกัน • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย geometry apply to Chemistry

  21. .. .. Cl Be .. .. Cl .. .. linear 180o File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา BeCl2 7 1 2 5 6 3 valence e- = 2 + (2 x 7) = 16e- Molecular Geometry fewer than 8e- valence pairs on Be bonding e- two กรณีของ BeCl2อย่างที่ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นว่าลักษณะเป็น linear ก็เพราะว่า Be มี lone pair electron อยู่ 2 อิเล็กตรอนจึงแชร์อิเล็กตรอนกับคลอรีนฝั่งซ้าย 1 และฝั่งขวาอีก 1 โมเลกุลที่ได้จึงเป็นเส้นตรงมุมเป็น 180 องศา • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย linear molecule

  22. .. .. C O O C .. .. .. O .. .. .. O .. .. linear 180o CO2 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 valence e- = 4 + (2 x 6) = 16e- valence pairs on C two ignore double bonds single and double bonds same กรณีของคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมีวาเลนต์อิเล็กตรอน 4 ตัว แชร์อิเล็กตรอนฝั่งด้านซ้ายกับออกซิเจนทั้งหมดใช้อิเล็กตรอนที่เกิดพันธะทั้งหมด 4 อิเล็กตรอน จึงเกิดเป็นพันธะคู่ในฝั่งซ้ายของคาร์บอน และในฝั่งขวาของคาร์บอนเกิดเป็นพันธะคู่กับออกซิเจนด้วยเช่นกัน รูปร่างโมเลกุลที่ได้จึงมีลักษณะเป็นเส้นตรงและมุมเป็น 180 • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย linear molecular geometry molecular shape linear

  23. .. .. .. O O O S .. .. .. .. .. .. : : : .. .. .. O O S S .. .. O .. .. trigonal planar 120o SO2 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 valence e- = 6+ (2 x 6) = 18e- Molecular Geometry three valence pairs on S two bonding pairs one lone pair molecular geometry trigonal กรณีของ Southfer มี lone pair electron ที่ตัวเองทั้งหมด 6 อิเล็กตรอน ต้องการ 2 อิเล็กตรอน จึงแชร์กับออกซิเจน เพราะฉะนั้นออกซิเจนจึงแชร์อิเล็กตรอนกับ southfer ตัวนี้ด้วย เกิดอิเล็กตรอนล้อมรอบ southfer ทั้งหมด 6 อิเล็กตรอน หลังจากนั้น southfer ตัวนี้ ได้ให้ 2 lone pair electron ที่ southfer นี้ยืมแก่ออกซิเจน จึงเหลือเพียงแค่อีก 2 lone pair 2 lone pair เปรียบเสมือนมี 1 พันธะเพราะฉะนั้นเมื่อดูรูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นจึงพบว่าเกิดเป็น double born ระหว่าง southfer กับ ออกซิเจน 1 โมเลกุล เกิดการให้ southfer ไปสู่อิเล็กตรอนจากออกซิเจน 1 พันธะและ lone pair electron เปรียบเสมือน 1 พันธะด้วยเช่นกัน มุมที่เกิดขึ้นทั้งหมดจึงเป็นลักษณะมุมงอ ด้วยมุมงอนี่เองเกิดจาก มุมที่เกิดขึ้นในโมเลกุลนี้ทั้งหมดเปรียบเสมือนเกิดเป็น 3 ด้านซึ่งมุมควรจะเป็น 180 องศาแต่ด้วยเหตุผลที่มี lone pair electron ที่เหลืออยู่ที่ southfer 2 อิเล็กตรอนนี้จึงทำให้มุมที่ได้เล็กกว่า 120 องศา • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย molecular shape bent < 120o

  24. .. Cl .. .. .. Cl .. I .. : : : bipyramidal 120o and 1800 ICl2- File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 valence e- = 7+ (2 x 7) + e- = 22e- Molecular Geometry five valence pairs on I two bonding pairs three lone pair on I molecular geometry bipyramidal กรณีของ ICl2-ก็เช่นกัน คือ ไอโอดีนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 เวเลนต์อิเล็กตรอนหลังจากนั้นมี I-มีประจุลบอยู่ข้างนอก จึงเปรียบเสมือนว่าไอโอดีนมีอิเล็กตรอนภายในตัวเองครบ 8 เรียบร้อยแล้ว เพราะฉะนั้นจึงให้อิเล็กตรอน 2 อิเล็กตรอนแก่คลอรีน 2 อะตอมยืมไป เมื่อเกิดเป็นพันธะจึงเกิดเป็นพันธะจากการให้ฟลูออรีนไปสู่คลอรีน 1 อะตอมและคลอรีนอีก 1 อะตอมด้วยเช่นกัน ส่งผลให้มีอิเล็กตรอนที่เหลืออยู่ที่ตัวไอโอดีนเองทั้งหมด 6 อิเล็กตรอนหรือกล่าวได้ว่ามี 3 คู่ lone pair electron ในลักษณะวงกลมที่แสดงในรูปครับ และลักษณะพันธะที่เกิดขึ้นกับคลอรีนเป็นลักษณะการให้ของไอโอดีนไปสู่คลอรีน รูปร่างที่เกิดขึ้นทำให้โมเลกุลที่เกี่ยวข้อง มีการจับพันธะทั้งหมด 5 แขน มีลักษณะเป็นรูปทรงพีระมิดฐาน 3 เหลี่ยม แต่ด้วย 3 คู่ lone pair อยู่บริเวณแนวเพลนจึงทำให้คลอรีนอยู่ในลักษณะเส้นตรงในแนวบนล่างของรูปร่างที่เป็นพีระมิดรูปฐาน 3 เหลี่ยมนั้นมุมจึงเป็นลักษณะเส้นตรงครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย molecular shape linear

  25. Br .. .. F F .. .. .. .. .. .. F .. .. F F .. .. .. .. .. : octahedral 90o BrF5 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 valence e- = 7+ (5 x 7) = 42e- Molecular Geometry six valence pairs on Br five bonding pairs one lone pair molecular geometry octahedral ลักษณะของ BrF5 boron มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 ตัว และแชร์อิเล็กตรอนกับฟลูออรีนทั้งหมด 5 ตัว จึงทำให้โมเลกุลของ BrF5 นี้ไม่เป็นไปตามกฎอ๊อกเท็กซ์ bormeen ที่แชร์กับฟลูออรีน 5 ตัวแล้วจึงเหลือ 2 คู่ lone pair แสดงให้เห็นว่า BrF5มีแขนทั้งหมดกับฟลูออรีน 5 แขนและมี 1 คู่ lone pair ที่เหลือ เปรียบเสมือนมีแขนทั้งหมด 6 แขนซึ่งรูปร่างที่แสดงของการมีแขน 6 แขนนั้นคือ octahedral มุมที่ได้ควรจะเป็นในลักษณะ 90องศาซึ่งกันและกันทั้งหมด แต่ทั้งนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเนื่องด้วย lone pair ที่เกิดขึ้นตรงนั้นจะไปกระทบทำให้มุมที่ได้เล็กกว่า 90 เพียงเล็กน้อยเท่านั้นครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย molecular shape square pyramidal

  26. .. .. Xe F F .. .. .. .. .. .. F F .. .. .. .. : : octahedral 90o XeF4 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 valence e- = 8+ (4 x 7) = 36e- Molecular Geometry six valence pairs on Xe four bonding pairs two lone pair molecular geometry octahedral ตัวอย่างถัดมาคือ Xenon มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 8 ตัว เมื่อเกิดพันธะกับฟลูออรีนทั้งหมด 4 ตัวมันจึงนำ 4 อิเล็กตรอนที่อยู่ในตัวมันเองให้ฟลูออรีนแต่ละอะตอมยืมไป เสมือนเกิดพันธะเดี่ยวกับฟลูออรีนทั้งหมด 4 ตัว เมื่อให้ฟลูออรีนยืมไป 8 ตัวจึงเกิดคู่ lone pair เหลืออยู่ 4 อิเล็กตรอนเพราะฉะนั้นคู่ lone pair ที่ได้ก็คือจึงเหลือเพียง 2 คู่ lone pair electron ดังแสดงในรูปของวงกลม เปรียบเสมือนว่า ซีนอนมีแขนที่เกิดขึ้นทั้งหมด 6 แขน รูปร่างที่เกิดขึ้นคือ octahedral หรือทรงเหลี่ยม 8 หน้า lone pair ที่เกิดขึ้นมีด้านบนและด้านล่างทำให้โมเลกุลนี้แสดงคุณสมบัติเป็น square planar หรือเป็นทรงเหลี่ยม 4 หน้าตามพื้นนั่นเอง อิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในโมเลกุลนี้ทั้งหมดมี 36 อิเล็กตรอนครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย molecular shape square planar

  27. .. F .. .. O H H P S .. .. .. .. F F Cl Cl .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. Cl .. F .. .. .. .. .. F F .. .. .. .. .. .. Cl Cl .. .. .. .. Cl .. .. S .. .. .. .. Cl Cl .. I .. : : : : : : : : F F F .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. F F F F .. .. .. .. .. .. .. .. File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 Molecular Geometry ขอให้ไปแก้ตามที่ในแก้ไขนะครับ ก็ ตัวอย่างรูปนี้เป็นลักษณะ เทียรเอเมชทรี่ โมเลกุลของธาตุชนิดต่างๆ พิจารณาดังนี้ คือออกซิเจนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว ต้องการอิเล็กตรอนอีก 2 จึงแชร์อิเล็กตรอนคู่กับไฮโดรเจน 2 ตัว ฉะนั้น lone pair ที่เหลือจึงมี 4 อิเล็กตรอนดังแสดงในรูปวงกลมด้านบน รูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นรูปวงงอ เดิม 4 แขนนี้น่าจะเป็น octahedral หรือทรงเหลี่ยม 4 หน้าแต่ด้วยอิทธิพลของ lone pair ที่มีจึงทำให้มุมที่เกิดขึ้นของน้ำเป็นมุมงอ กรณีของ Pcl5 ฟอสฟอรัสมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 5 ตัวแชร์อิเล็กตรอนกับครอรีนที่เกิดขึ้นทั้งหมด 5 คลอรีน ฉะนั้นแขนที่เกิดขึ้นทั้งหมดในการเกิดพันธะโควาเลนต์ เป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด 5 แขน รูปร่างที่เกิดขึ้นเป็นรูปพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยม โดยจะมีคลอรีนอยู่ 3 ตัวบริเวณเพลนแกน และมีคลอรีนอีก 2 ตัวอยู่ด้านบนและด้านล่าง กรณีของ southfer มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว ได้แชร์อิเล็กตรอนคู่กับฟลูออรีนทั้งหมด 6 ตัวด้วยกัน ทำให้โมเลกุลของ southfer ไม่เป็นไปตามกฎอ๊อกเท็กซ์ และพันธะที่เกิดขึ้นทั้งหมด 6 พันธะจึงเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด และมุมรูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นเป็นรูปร่างของ octahedral หรือทรงเหลี่ยม 8 หน้า กรณีของ SF4คล้ายคลึงกัน คือ southfer มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัวแต่จับกับฟลูออรีนทั้งหมด 4 ตัวจึงเหลือเพียงแค่ 1 คู่ lone pair เปรียบเสมือนเป็น 1 แขนลักษณะที่เกิดขึ้นจึงเป็นรูปร่างของ 3 เหลี่ยมแบนราบและมีโมเลกุลด้านบนและด้านล่าง พุ่งขึ้นและพุ่งลงตามลำดับ โมเลกุลSF ที่พุ่งขึ้นและพุ่งลงนั้นมันคือ lone pair1 โมเลกุลเพราะฉะนั้นรูปร่างที่ได้จึงเป็นรูปร่าง ที่มีลักษณะเป็นคล้ายไม้กระดกครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  28. Br .. .. .. .. Xe F F F F .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. F .. .. F F F F .. .. .. .. .. .. .. .. .. : : : File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 7 1 2 5 6 3 Molecular Geometry อันนี้น่าจะเป็น ICl2- มั๊งครับ (อันนี้แก้ต้องติดเครื่องหมายลบด้วย) กรณีถัดมาคือ ClF3 คลอรีนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 ตัว แชร์อิเล็กตรอนกับฟลูออรีน 3 ตัว จึงเหลือ 2 คู่ lone pair และ 3 พันธะระหว่าง C กับ F นี้เปรียบเสมือนกับแขนทั้งหมด 5 นั่นคือรูปร่างเป็นพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยมสิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ lone pair จะอยู่ในลักษณะแนวเส้นตรงและฟลูออรีนทั้ง 3 ตัวจะอยู่ในลักษณะ 3 เหลี่ยมแบนราบบริเวณเพลนครับ รูปร่างต่อไป ICl2- ไอโอดีนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 7 ตัวและแชร์อิเล็กตรอนร่วมกับคลอรีน 2 ตัว รับประจุลบข้างนอกมา 1 จึงเป็น 8 อิเล็กตรอน หลังจากนั้นก็ใช้ 1 อิเล็กตรอนแชร์พันธะให้อิเล็กตรอนกับคลอรีน 1 ตัว และคลอรีนอีก 1 ตัวก็ได้รับอีก 1 อิเล็กตรอนเช่นกัน ทำให้อิเล็กตรอนที่เหลืออยู่บริเวณไอโอดีนคือ 6 อิเล็กตรอนซึ่งคือ 3 คู่ lone pair ถ้าพิจารณาแขนที่เกิดขึ้นทั้งหมดจะมีแขนที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 5 แขน คือจากคลอรีน 2 แขนและ lone pair อีก 3 แขน 5 แขนที่เกิดขึ้นนี้รูปร่างโมเลกุลคือพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยมซึ่ง lone pair ทั้ง 3 จะอยู่บริเวณแนวพื้นราบคือเป็น 3 อะตอมแล้วก็มีเจ้าคลอรีนบนล่างอย่างละ 1 อะตอม มุมที่ได้จึงเป็นลักษณะของเส้นตรง กรณีของ XeF4ซีนอนเป็นธาตุหมู่ 8 มีเวเลนต์อิเล็กตรอนครบ 8 เรียบร้อยแล้ว จึงเกิดพันธะกับฟลูออรีนทั้งหมด 4 ตัวเหลือเวเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ 4 อิเล็กตรอนหรือ 2 คู่เวเลนต์อิเล็กตรอน จากนั้นจึงนับแขนพบว่าแขนทั้งหมดมี 6 แขน คือ 4 แขนระหว่าง ซีนอนกับฟลูออรีนและ 2 คู่ lone pair รูปร่างที่เกิดขึ้นเป็นทรงเหลี่ยม 8 หน้า จะพบว่า ซีนอนและฟลูออรีนจะอยู่ในลักษณะของ brand plan ทั้ง 4 โมเลกุล เป็นทรงเหลี่ยม 4 หน้าตามเพลนและ lone pair จะอยู่บนล่างตามลำดับ กรณีของ BrF5 bormeen มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด7 ตัวและได้แชร์อิเล็กตรอนกับฟลูออรีนทั้งหมดอีก 5 ตัว เพราะฉะนั้นจึงเหลือ lone pair electron อยู่ 2 ตัวเท่านั้นแขนที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องทั้งหมดมี 6 แขน รูปร่างที่เกิดขึ้นเป็น octahedral หรือทรงเหลี่ยม 8 หน้า ซึ่งจะเป็นด้าน 1 คู่ lone pair นี้ ทำให้รูปร่างที่ได้เป็นพีระมิดฐาน 4 เหลี่ยมครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  29. Molecular Shapes Lewis structures File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา physical properties VSEPR 7 1 2 5 6 3 (b.p., solubility) Molecular Shapes separation of charge in molecule polarity electronegativity HF + - Molecular Shapes สนใจเรื่องของพันธะ เกี่ยวกับขั้วของพลังโมเลกุลและขั้วของพันธะซึ่งจากเดิมเราก็ได้กล่าวถึงตอนแรกสุดไปแล้วว่า ธาตุที่มีค่า Electronegativity สูง อย่างเช่นฟลูออรีนจะทำหน้าที่ดึงอิเล็กตรอนมาอยู่บริเวณล้อมรอบของมันมากกว่า จึงแสดงความเป็นลบได้ในขณะที่ไฮโดรเจนไม่สามารถที่จะดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ที่ตัวเองได้ดีนัก จึงแสดงความเป็นขั้วบวก เพราะฉะนั้นโมเลกุล HF นี้จึงมีความมีขั้ว โดยขั้วลบจะพุ่งเข้าหาฟลูออรีนและขั้วบวกจะอยู่ที่บริเวณที่ไฮโดรเจนครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  30. electronegativity larger molecules File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา molecular shape 7 1 2 5 6 3 Electronegativity b.p. = -78oC CO2 SO2 b.p. = 23oC : : : : : : : : : : : : : C O O S O O : : : : valence pairs 2 linear 3 valence pairs trigonal + + เรื่องของElectronegativityที่ได้กล่าวไปแล้วในตอนต้น คือผลต่างของ data ถ้าอยู่ระหว่าง 0–2 ก็จะเป็นโมเลกุลที่เป็นพันธะโควาเลนต์ ถ้าเป็น 0 เป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้วนั่นเอง ตัวอย่างเช่น CO2จะพบว่าลักษณะรูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นด้วยจากทฤษฎี VSEPR มุมที่เกิดขึ้นเจะป็นเส้นตรง ขั้วที่เกิดขึ้นระหว่าง C กับ O พบว่าออกซิเจนมี En สูงกว่าจึงดึงอิเล็กตรอนไปหาตัวเอง ขณะที่ความเป็นลบอยู่ที่ออกซิเจน เมื่อพิจารณาอีกฝั่งนึงของ CO ก็จะเป็นในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ดังนั้นโมเลกุลนี้ ถึงแม้ว่าจะเป็นโมเลกุลที่ต่างชนิดกันแต่ data En ที่เกิดขึ้นหรือขั้วที่เกิดขึ้นทั้งหมดหักล้างกันได้ทำให้โมเลกุลนี้ไม่มีขั้ว กรณีของ SO2southferมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว ใช้อิเล็กตรอนกับออกซิเจนทั้ง 2 ฝั่ง ฝั่งละ 2 อิเล็กตรอน ทำให้รูปร่างของโมเลกุลที่ได้มีลักษณะเป็นมุมงอ จะพบว่าออกซิเจนมีค่า En สูงกว่า southferจึงดึงอิเล็กตรอนมาเป็นขั้วลบที่ตัวเอง southferทั้ง 2ตัวไม่สามารถหักล้างกันได้ เพราะว่ามีลักษณะของ lone pair ที่คอยดันให้ลงมาข้างล่างทำให้โมเลกุลนี้เป็นโมเลกุลที่มีขั้วและมีทิศทางของโมเลกุลพุ่งลงตามลำดับครับ - - • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย - - non-polar

  31. H Cl Cl Cl C Cl C Cl Cl Cl CHCl3 CCl4 File : 9_1_1.swf insoluble หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา water soluble 7 1 2 5 6 3 Electronegativity 4 valence pairs tetrahedral non-polar polar CHCl3 คาร์บอนเกาะกับคลอรีนทั้งหมด 4 ตัว พบว่าคลอรีนมี En สูงกว่า ดังนั้นทิศของขั้วคือจะวิ่งไปหาคลอรีนแต่ด้วยที่รูปร่างโมเลกุลที่เป็นทรงเหลี่ยม 4 หน้า ลักษณะคล้ายกับขานกพิราบ ดังนั้นแขนความมีขั้วทั้งหมดวิ่งพุ่งลงหาคลอรีนเมื่อรวมกับน้ำแล้วได้ทิศทางของโมเลกุลที่พุ่งลง โมเลกุลนี้เป็นโมเลกุลที่มีขั้วและวิ่งออกห่างจากไฮโดรเจน เข้าหาคลอรีนนั่นเอง กรณี CCl4เป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว พิจารณาจากรูปร่างโมเลกุลที่เป็นลักษณะคล้ายกับขานกพิราบหรือทรงเหลี่ยม 4 หน้า พบว่าเมื่อรวมกับน้ำแล้ว CCl ทั้ง 4 แขนจะเกิดการหักล้างกันอย่างสิ้นเชิง ทำให้โมเลกุลนี้ไม่มีขั้ว จึงไม่สามารถละลายน้ำได้ แต่น้ำนั้นเป็นโมเลกุลที่มีขั้ว ดังนั้น carbon coxacoride ไม่ละลายน้ำแต่ correform CHCl3แสดงความมีขั้วได้มันจึงสามารถที่จะละลายในน้ำได้ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  32. Valence Bond Theory covalent bond overlap of orbitals bonding e- pair File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา opposite spins 7 1 2 5 6 3 Valence Bond Theory CH4 geometry tetrahedral [He] 2s2 2p2 shape tetrahedral valence e- orbitals in molecules Pauling in atoms  mix produce molecular orbitals สำหรับกรณีเรื่อง Valence Bond Theory หรือทฤษฎีของ Valence Bond จะพิจารณาถึง overlap การเชื่อมกันหรือการซ้อนทับกันของ orbitals ที่เกี่ยวข้องกับอะตอมของธาตุแต่ละชนิดนั้น ตัวอย่างเช่น มีเทน จะมีคาร์บอน รูปร่างโมเลกุลของมีเทน เป็นรูปร่าง tetrahedral หรือทรงเหลี่ยม 4 หน้า พิจารณาที่อะตอมกลางของคาร์บอนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น 2s22p2 ตามลำดับ รูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้นจะนำเวเลนต์อิเล็กตรอน หรือ 2s2และ 2p2 ไปใช้ในการเกิดรูปร่างโมเลกุลต่อไป โดยการคำนวณจะสามารถคำนวณโดยใช้ solancer equation ซึ่งจะได้กล่าวต่อไปครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  33. sp3 mixing hybridization File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา depends on number of atomic orbitals mixed 7 1 2 5 6 3 type of atomic orbitals mixed Valence Bond Theory CH4 needequivalent orbitals 4 4 mix atomic orbitals [He] 2s2 2p2 mix s and 3 p sp3 การรวมกันของ S กับ Porbitals ของไฮโดรเจน คาร์บอนมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น 2s22p4 2S ที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นรูปทรงกลม กรณีของ 2P P = orbitals มีอิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ล้อมรอบในลักษณะเป็น dumbbell หรือเป็นรูปเลข 8 ดังนั้น P ที่เกิดขึ้นจึงเป็น 3P คือ PX, PY และ PZ เมื่อรวมกันและเพื่อใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมดนี้ในการเกิดพันธะ จึงทำให้คาร์บอนต้องนำอิเล็กตรอนในระดับชั้น 2S และอิเล็กตรอนที่มีอยู่ในระดับชั้น P 2อิเล็กตรอนมาจับรวมกัน เมื่อจับรวมกันแล้วจึงได้โมเลกุลที่มีรูปร่างขนาดใหม่ขึ้นเรียกว่าการเกิด hybridization หรือเป็นการรวมกันระหว่าง S และ P orbitals ของคาร์บอน ได้รูปร่างโมเลกุลเป็น sp3 hybridization จะใช้ orbitals ที่เกิดขึ้นทั้งหมด 4 orbitals ในการรับอิเล็กตรอนจากไฮโดรเจน และเกิดเป็นโมเลกุลที่มีรูปร่างเป็นคล้ายกับขานกพิราบหรือเป็นรูปร่างทรงเหลี่ยม 4 หน้านั่นเอง จะขอย้ำในตอนแรกนิดนึงก็คือว่า เรามี 2S และ 2P จะเห็นว่า 2S orbitals นี้จะมี S orbitals อยู่เพียง 1 ห้องเท่านั้น แต่กรณีของ P orbitals จะมีทั้งหมด 3P คือ PX, PY และ PZ เมื่อนำเอา orbitals ในชั้น S และ P ทั้ง 3 ตัวมารวมกันเกิดเป็น hybridization ขึ้นมาใหม่นับเป็น SP3รูปร่างโมเลกุลที่เกิดขึ้น จะมี orbitals ทั้งหมด 4 orbitals ตามเดิมครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  34. sp3 p energy File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridization sp3 7 1 2 5 6 3 s Valence Bond Theory CH4 hydrogen sigma bond [He] 2s2 2p2 s  bond sp3 ถ้าแสดงลักษณะง่ายๆ จะพบว่าคาร์บอนมีอิเล็กตรอนในระดับชั้น S orbitals หรือเป็นลักษณะทรงกลม 2 อิเล็กตรอน แล้วอิเล็กตรอนในระดับชั้น P มี 3 ห้องคือ PX, PY และ PZ เมื่อจับรวมกันแล้ว จะเกิดเป็น hybridization ชนิด CH4 hybridization และในการเกิดพันธะนี้ จะใช้ 4 ห้องนี้ในการรับอิเล็กตรอนจากไฮโดรเจน ซึ่งการเกิดพันธะนี้เป็นลักษณะพันธะที่เป็นลักษณะ sigma คือการชนในลักษณะของก้อนไฮโดรเจนชนโดยตรงกับ orbitals ที่เกี่ยวข้องนั้นในแต่ละทิศจึงเกิดเป็นพันธะ sigma bond ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  35. : : C H H : : : : O sp2 formaldehyde CH2O File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 3 valence pairs on C 7 1 2 5 6 3 Valence Bond Theory 3 hybrid orbitals [He] 2s2 2p2 sp 2 กรณีของ formaldehyde จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับกรณีตอนต้น แต่ต่างกันตรงที่ hybridization ที่เกิดขึ้น เริ่มต้นพิจารณาจากคาร์บอน 2S และ 2P จะพบว่าในการเกิด hybridization ตัวคาร์บอนนี้จะนำมาเพียง S 3 ห้องที่เกิดจากการ hybridization เพื่อใช้ในการเกิดพันธะระหว่างออกซิเจนและไฮโดรเจน เพราะฉะนั้น hybridization ที่เกิดขึ้นนี้จึงเป็น SP2และรูปร่างโมเลกุลของ SP2 นี้จะเป็นลักษะของ 3 เหลี่ยมแบนราบซึ่งจะมีมุมระหว่างแต่ละลูปเป็น 120องศาครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  36. p : : C H H : : : : O p  -bond sp2 -bond p energy File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridization sp2 7 1 2 5 6 3 s Valence Bond Theory p ตัวอย่างที่แสดงได้ง่ายขึ้น จะพบว่าอะตอมของคาร์บอนนั้นมี 2 อิเล็กตรอนใน S และ 2 อิเล็กตรอนใน P เมื่อเกิดเป็นโปรโมชั่น จะพบว่าอิเล็กตรอนในระดับชั้น S และ กระจายรวมกันเป็น SP2และ P ที่เหลืออยู่ 1 นั้นเมื่อนำห้องในชั้น S และ P 2 ห้องรวมกันจะเกิดเป็น 3 ก้อนนั่นคือ SP2และเหลือ 1 P orbitals ที่เหลือ พบว่า SP2 hybridization ที่เกิดขึ้นเป็นลักษณะสีเขียวเป็น SP2 hybridization orbitals และจะเหลือ P orbitals อยู่ 1 ห้อง จากรูปจะพบว่า P มีพลังงานสูงกว่า SP2 hybridization แต่เมื่อพิจารณารูปที่เป็นสีๆ จะพบว่า P orbitals นี่เองจะกระทำการเชื่อมกันระหว่าง P orbitals ที่มีอยู่ในออกซิเจนทำให้เกิดเป็นพันธะในลักษณะที่เป็นขีดๆ สีม่วงระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจนอยู่ด้านบนและด้านล่าง นั่นก็คือเป็นพันธะ  สำหรับกรณีก้อนที่เป็นสีแดงม่วงระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจนเป็นการจับกันระหว่าง SP2 hybridization และ P orbitals ของออกซิเจนเกิดเป็นพันธะ sigma สิ่งที่เกิดขึ้นตรงนี้พบว่าคาร์บอนและออกซิเจนจะจับกันเป็นพันธะคู่ ซึ่งพันธะคู่นั้นก็คือ 1 พันธะ sigma และ 1 พันธะ  พันธะ  พิจารณาจากเส้นขีดๆ สีน้ำเงินด้านบนและด้านล่างนั่นเอง กรณี SP2 hybridization ที่เหลืออีก 2 orbitals จะทำหน้าที่จับกับไฮโดรเจนที่เหลืออีก 2 ตัวด้วยเช่นกัน ในลักษณะของ sigma bond ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย energy hybridization sp2 s

  37. : : :: :: C O O : : sp CO2 -bond File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridized bonds 2 7 1 2 5 6 3 Valence Bond Theory unhybridized bonds 2 -bond s + p sp SP hybridization เริ่มต้นพิจารณาที่คาร์บอน แต่เดิมเราทราบว่ารูปร่างโมเลกุลของคาร์บอนนี้เป็นรูปร่างลักษณะโมเลกุลที่เป็นเส้นตรง และพันธะที่เกี่ยวข้องเป็นพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนและออกซิเจน จากตัวอย่างก่อนหน้านี้ที่ได้นำเสนอไปพบว่า พันธะคู่ที่เกิดระหว่างคาร์บอนและออกซิเจนนั้น ก็คือพันธะที่เกิดจากพันธะ sigma และพันธะ  ตามลำดับครับ เพราะฉะนั้น hybridization ของคาร์บอนไดออกไซด์ชนิดที่เป็น SP hybridization นี้จะมีรูปร่างโมเลกุลเป็นลักษณะของเส้นตรงซึ่งในลักษณะของการจับโมเลกุล ซึงจะอธิบายถัดไปครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  38. p : : :: :: C O O : : p sp p energy File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridization C sp 7 1 2 5 6 3 s Valence Bond Theory -bond end-to-end -bond side-to-side p รูปนี้จะพบว่าคาร์บอนแต่เดิมเป็น S2 และ P2 เมื่อเกิด hybridization แล้วอิเล็กตรอนจะกระจายไปอยู่ทั้งหมดใน 4 ห้องของ SP แต่โมเลกุลนี้เลือกมาเพียงห้อง S และ P มาจับรวมกันเพื่อให้เกิดเป็น hybridization ที่มีระดับพลังงานเท่ากัน มี 2P เหลืออยู่ จะมีรูปร่างเป็นลักษณะเส้นตรงดังรูปสีเหลือง ที่แสดงอยู่ล้อมรอบคาร์บอน และจะมี P อิเล็กตรอนที่อยู่เหลืออีก 2P จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่า P จะมีลักษณะของลูก dumbbell เพราะฉะนั้น P ที่เกิดจากคาร์บอนที่เหลือจะเป็นสีฟ้าอยู่ด้านบนและด้านล่างตามลำดับหลังจากนั้น คาร์บอนจะใช้ด้านที่เป็นสีเหลืองชนกับ 1 ก้อน orbitals ของออกซิเจนเกิดเป็นพันธะ sigma และจะพบว่าพันธะ sigma นี้เกิด 1 sigma และ P orbitals ที่เหลือ 1P ของคาร์บอนก็จะไปเกาะกับ P orbitals ของออกซิเจนด้วยเช่นกัน จึงเกิดเป็น  bond ขึ้นอีก 1  bond สำหรับ CO ฝั่งด้านซ้าย กรณีของ CD ด้านขวาก็เกิดขึ้นในลักษณะคล้ายคลึงกันคือสีเหลืององคาร์บอนจับกับสีเขียว 1ก้อนของออกซิเจนซึ่งเป็นลักษณะการชนแบบ sigma bond และการชนกันในระดับชั้น  bond ก็เกิดการชนในลักษณะของเป็น dumbbell ด้านคาร์บอนและ dumbbell ด้านออกซิเจนชนกันเป็น 1คู่นับเป็น 1  bond เพราะฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นพันธะระหว่างคาร์บอนและออกซิเจนจึงเกิดเป็น 1 sigma และ 1เป็นพันธะคู่และ hybridization ที่เกิดขึ้นนี้จึงเป็น hybridization ชนิด SP ของออกซิเจนของคาร์บอน กรณีของออกซิเจน hybridization ที่เกิดขึ้นเป็น SP2 SP2จะมีรูปร่างเป็น 3 เหลี่ยมแบนราบ สีเขียวของออกซิเจนจะมี P orbitals ที่เหลืออยู่ ซึ่งแสดงเป็นสีน้ำเงินดังรูป • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย energy hybridization sp2 O s

  39. Cl Cl Cl P Cl Cl PCl5 trigonal bipyramidal File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridized orbitals 5 7 1 2 5 6 3 mix 5 สรุป + 3p + d s dsp3 เรื่องที่ผ่านมาทั้งหมดของ hybridization เรารู้จัก hybridization ชนิด SP3 SP2 และ SPแล้ว ต่อไปก็จะขอสรุปเกี่ยวกับ hybridization ให้ฟังอย่างง่ายๆ นั่นก็คือว่าเรานับตามจำนวนแขนของอะตอมกลางนั้นเลยครับ กรณีของ CS4ตอนต้นที่แสดงให้ดูเราจะเห็นว่าคาร์บอนนี้มีอะตอมอยู่ล้อมรอบทั้งหมด 4 ไฮโดรเจน คือ CS4 แขนที่เกิดขึ้นทั้งหมดจึงมี 4 แขน hybridization ของ CS4 นี้ก็คือ SP3 hybridization กรณีของ CS2O คาร์บอนเกิดพันธะคู่กับออกซิเจนและเกิดพันธะเดี่ยวกับไฮโดรเจน 2 ตัวเปรียบเสมือนคาร์บอนนั้นมีแขนที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 3 แขน รูปร่างน่าจะเป็นรูปร่างของ 3 เหลี่ยมแบนราบ และ hybridization ที่เกิดขึ้นจึงเป็น hybridization ตามแขนนั้น ก็คือ SP2 hybridization เมื่อย้ายลงมาสู่โมเลกุล CO2เราทราบว่าคาร์บอนไดออกไซด์มีรูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง เปรียบเสมือนล้อมรอบของคาร์บอนนี้มี 2 ด้านคือทั้งด้านซ้ายและด้านขวาเท่านั้น เพราะฉะนั้นแขนที่เกี่ยวข้องของ hybridization ก็นับเริ่มต้นจาก S ไป P ไปตามลำดับ คาร์บอนไดออกไซด์จึงมี hybridization เป็น SP2 ถัดไปกรณีของ PCl5พบว่าฟอสฟอรัสมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 5 ตัวจับกับแขนกับคลอรีนทั้งหมด 5 แขนโมเลกุลนี้ไม่เป็นไปตามอ๊อกเท็กซ์และรูปร่างโมเลกุลก็จะเป็นรูปร่างพีระมิดคู่ฐาน 3 เหลี่ยมเมื่อพิจารณาถึง hybridization พบว่ามี 5 แขน ดังนั้น hybridization จึงนับตามอย่างง่ายๆ ได้ดังนี้ คือ S PS มี 1 ห้อง P มี 3 ห้อง จึงเป็น SP3ตอนนี้ได้ 4 แล้วจึงนับจากชั้นที่ถัดไปคือชั้น D จึงได้เป็น SP3D รวมทั้งหมดจึงเป็นเลข 5 คือ S1 P3 และ D1 hybridization จึงเป็น SP3hybridization ครับ SP3D hybridization ครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

  40. F F F S F F F octahedral SF6 File : 9_1_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา hybridized orbitals 6 7 1 2 5 6 3 6 mix สรุป + 3p + 2d s d2sp3 กรณีของ SF6 southfer มีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว ใช้อิเล็กตรอนกับฟลูออรีนทั้งหมด 6 อะตอม ก็จะได้รูปร่างของ octahedral หรือทรงเหลี่ยม 8 หน้าเมื่อพิจารณาถึง hybridization ของเจ้าตัว southfer นี้ ก็นับตามจำนวนแขนได้เลยนะครับ กรณีนี้ก็จะพบว่าเราได้แขนของ southfer ทั้งหมด 6 แขนเมื่อเริ่มนับจาก S หลังจากนั้นไป P P ทั้งหมดเป็น 3P Px Py และ Pz จึงใช้ทั้งหมด จากนั้นเราต้องการอีก 2 orbitals จึงดึงมาจาก D orbitals ได้เป็น d2 เพราะฉะนั้น hybridization ของ SF6หรือรูปร่างที่เป็น octahedral นี้จึงมี hybridization เป็น sp3 d2 ยกตัวอย่างอีกตัวอย่างนึงเช่นตัวอย่างของน้ำและแอมโมเนีย น้ำมีเวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัวจับกับไฮโดรเจน 2 ตัวซึ่งครบ 8 จะพบว่าพันธะที่เกิดขึ้นเป็นพันธะเดี่ยว เกิดขึ้นระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจนแขนทั้งหมดมี 2แขน แต่อย่าลืมว่าเรามี 4 อิเล็กตรอนซึ่งมันคือ 2 คู่ lone pair แล้วเสมือนว่ามันมี 4 แขนรูปร่างที่เกิดขึ้นน่าจะเป็นทรงเหลี่ยม 4 หน้า หรือถ้าพูดกันอีกกรณีหนึ่งคือ lone pair นั้นทำให้มุมที่เกิดขึ้นกับไฮโดรเจน ออกซิเจนและไฮโดรเจนนั้นเล็กลง เล็กกว่า 109.5 ครับ เมื่อพูดถึง hybridization จะพบว่าออกซิเจนนี้มีแขนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเปรียบเสมือน 4 แขนเพราะฉะนั้น hybridization ของน้ำก็คือ SP3 hybridization นั่นเอง กรณีของแอมโมเนียก็เช่นกันแอมโมเนียมีเวเลนต์อิเล็กตรอน 5 ตัวจับกับไฮโดรเจน 3 แขนและเหลือ 1 คู่ lone pair เปรียบเสมือนไฮโดรเจนนั้นมีแขนทั้งหมดเกี่ยวข้อง 4 แขน 4 แขนนั้นคือ hybridization นั้นคือ SP3นั่นเองครับ • ปรากฏข้อความและภาพให้สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย

More Related