1 / 28

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

การลำเลียงสารผ่านเซลล์. จัดทำโดย ครูเบญจมาศ ช่างเกวียน. ขอขอบคุณเจ้าของรูปภาพจากเว็บไซต์ต่างๆ. การรักษาดุลยภาพของเซลล์. สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ เซลล์จะดำรงชีวิตอยู่ได้ก็ต้อง ได้รับสารต่างๆ เช่น O 2 H 2 O CO 2 และแร่ธาตุต่างๆ จาก สิ่งแวดล้อมภายในสำหรับการดำรงชีวิต ขณะเดียวกันก็จะมี

makoto
Download Presentation

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์ จัดทำโดย ครูเบญจมาศ ช่างเกวียน ขอขอบคุณเจ้าของรูปภาพจากเว็บไซต์ต่างๆ

  2. การรักษาดุลยภาพของเซลล์การรักษาดุลยภาพของเซลล์ สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ เซลล์จะดำรงชีวิตอยู่ได้ก็ต้อง ได้รับสารต่างๆ เช่น O2 H2O CO2และแร่ธาตุต่างๆ จาก สิ่งแวดล้อมภายในสำหรับการดำรงชีวิต ขณะเดียวกันก็จะมี การกำจัดสารบางอย่างออกนอกเซลล์ ซึ่งต้องมีกระบวนการ ลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

  3. เยื่อหุ้มเซลล์(cell membrane) ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิดเรียงตัวเป็น 2 ชั้น (lipid bilayer) โดยหันปลายข้างที่มีขั้ว ( ชอบน้ำ ) ออก ด้านนอกหันปลายข้างที่ไม่มีขั้ว ( ไม่ชอบน้ำ ) เข้าด้านใน มีโปรตีน คอเลสเทอรอล ไกลโคลิพิด ไกลโคโปรตีน แทรกอยู่

  4. โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์

  5. ชนิดของเยื่อกั้น 1. permeable membrane หมายถึงเยื่อที่ยอมให้สารเกือบทุกชนิดผ่านได้ เช่น กระดาษกรอง ผ้าต่างๆ 2. impermeable membrane หมายถึง เยื่อที่ไม่ยอมให้ให้โมเลกุลของสารละลายผ่านได้เลย เช่น ยาง ลูกโป่ง ยางรถยนต์ 3. semipermeable membrane หรือ selectively permeable membrane (เยื่อเลือกผ่าน) หมายถึง เยื่อที่ยอมให้สารบางชนิดผ่านได้ เช่น cell membrane กระดาษเซลโลเฟน เยื่อหุ้มไข่ขาว กระเพาะปัสสาวะสัตว์

  6. การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์ • การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน(passive transport) การแพร่ (diffusion)เป็นการเคลื่อนที่ของอนุภาค ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปสู่ บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ จนความหนาแน่น ของสารในทุกบริเวณเท่ากัน สภาวะเช่นนี้ เรียกว่า สมดุลของการแพร่(dynamic equilibrium)ซึ่ง อัตราการแพร่ไปและกลับจะเท่ากัน

  7. การแพร่(diffusion)

  8. การแพร่(diffusion) มีหลักการสำคัญคือ 1.อนุภาคสารเคลื่อนที่จากที่มีโมเลกุลมาก น้อย 2.ผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือไม่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน 3.เกิดกับเซลล์ที่มีชีวิต หรือไม่มีชีวิตก็ได้ 4.เกิดได้ทุกสถานะ #การแพร่ไม่ต้องใช้พลังงาน ไม่ทำให้เกิดการสะสมในเซลล์ เช่น การแพร่ของน้ำหอมในอากาศ การแพร่ของด่างทับทิมในน้ำ การแพร่ของO2จากถุงลมให้กระแสเลือด

  9. ออสโมซิส(Osmosis) • ออสโมซิส (Osmosis) หมายถึงการเคลื่อนที่โมเลกุล ของน้ำ จากที่มีสารละลายเจือจางไปยังที่มีสารละลาย เข้มข้นกว่า โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์(เยื่อเลือกผ่าน)

  10. แรงดันออสโมติก(omotic pressureO.P) เกิดจากการแพร่ของน้ำจากบริเวณที่น้ำมากเข้าสู่บริเวณที่น้ำน้อย แรงดันนี้จะดันให้ของเหลวขึ้นไปในหลอดได้ ในขณะที่ยังไม่สมดุลของเหลวจะขึ้นไปบนหลอดได้เรื่อย ๆ และเมื่อเกิดการสมดุลระดับของของเหลวในหลอดจะคงที่ O.Pขึ้นอยู่ความเข้มข้นของสารละลาย น้ำกลั่น O.P= 0 (บรรยากาศ) เครื่องมือแสดงการทดลองกระบวนการออสโมซิส เรียกว่า osmomiter

  11. ออสโมมิเตอร์อย่างง่ายออสโมมิเตอร์อย่างง่าย

  12. การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่อยู่ในสารละลายที่เข้มข้นต่างกันการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่อยู่ในสารละลายที่เข้มข้นต่างกัน 1. เมื่ออยู่ในสารละลายที่เข้มข้นกว่า (hypertonic solution)น้ำออสโมซิสออก ผลทำให้เซลล์เหี่ยวลง (plasmolysis) 2. เมื่ออยู่ในสารละลายที่เจือจางกว่า (hypotonic solution)น้ำออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ ผลทำให้เซลล์เต่ง (plasmoptysis) และคงรูปร่างอยู่ได้ ต้องอาศัย แรงดันเต่ง (turgor pressure) - ถ้าเซลล์สัตว์เต่งมากๆ มีผลทำให้แตกได้ เช่น การแตกของเซลล์เม็ดเลือดแดง (haemolysis) - ถ้าเป็นการแตกของสัตว์ และเซลล์ทั่วไป (cytolysis)

  13. - เซลล์พืช มีผนังเซลล์(cell wall) และแข็งแรงกว่าเซลล์สัตว์ - โปรโตซัวน้ำจืด จะมี คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล(contractile vacuole) 3. เมื่ออยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน (isotonic solution) น้ำออสโมซิสเข้า - ออกเท่ากัน

  14. คอนแทรกไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole)พบในโปรโตซัวน้ำจืดทำหน้าที่ ขับถ่่ายของเหลว ที่เกินความต้องการพร้อมกับของเสียออกจากเซลล์ ขนาดเปลี่ยนแปลงได้แล้วแต่ปริมาณของเหลวภายใน

  15. plasmolysis

  16. การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่อยู่ในสารละลายที่เข้มข้นต่างกันการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่อยู่ในสารละลายที่เข้มข้นต่างกัน

  17. การแพร่แบบฟาซิลิเทต(facilitade diffusion) การแพร่แบบฟาซิลิเทต เป็นการแพร่ของสารที่ไม่ สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงต้องอาศัยตัวพา โปรตีน (carrier) เช่นการลำเลียง กลูโคสเข้าสู่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ตับ เซลล์กล้ามเนื้อลาย

  18. การลำเลียงแบบใช้พลังงาน(active transport) การเคลื่อนความเข้มข้นของสารบริเวณที่เข้มข้นมากกว่า โดย อาศัยพลังงาน ATP ในเซลล์ให้กับโปรตีน(carrier)เป็นตัวพา ที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เช่น เซลล์รากพืชดูดเกลือแร่จากดิน การดูดซึมกลูโคสจากลำไล้เล็กเข้าสู่กระแสเลือด

  19. การลำเลียงแบบใช้พลังงาน(active transport)

  20. diffusion passive transport facilitated transport active transport

  21. การลำเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์ • การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ สารเหล่านี้ไม่สามารถผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์หรือโปรตีนในเยื่อหุ้มเซลล์ได้ 1. เอกโซไซโทซิส (exocytosis)เช่น การหลั่งเอนไซม์จากเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร vesicle (ภายใน) ติด ปล่อยสารออกนอกเซลล์ cell membrane หรือรวมตัว

  22. การลำเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์ • เอนโดไซโทซิส (endocytosis) หลุดเป็น เข้าสู่ cell membrane เว้าเป็นถุง cytoplasm vesicle

  23. กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis)กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis) 1. ฟิโนไซโทซิส(pinocytosis) หรือ cell drinking เป็นการ นำสารที่เป็นของเหลวเข้าสู่เซลล์โดยวิธีการที่เยื่อหุ้มเซลล์เว้า เข้าไปในไซโทพลาสซึมกลายเป็นถุง เช่น การดูดสารกลับคืนที่ ท่อของหน่วยไต การนำสารเข้าสู่เยื่อบุลำไส้เล็ก

  24. กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis)กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis) • ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) cell- eating เป็น การนำสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์โดยใช้เท้าเทียม (psuedopodium)โอบจนเกิดเป็นถุง หลุดเข้าไปเซลล์ และติดกับไลโซโซมย่อยต่อไป เช่น อะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาว ราเมือก

  25. การโอบจับกินอาหารของamoebaการโอบจับกินอาหารของamoeba

  26. กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis)กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis) ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis)

  27. กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis)กระบวนการเอนโดไซโทซิส(endocytosis) 3. การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (receptor- mediated endocytosis) เป็นการนำสารเข้าสู่เซลล์ โดยมีตัวรับ(receptor) บนเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่จับสาร เกิดเป็นถุงหลุดเข้าไปเซลล์

More Related