1 / 46

โรคไข้เลือดออก DENGUE HEMORRHAGIC FEVER

โรคไข้เลือดออก DENGUE HEMORRHAGIC FEVER. พญ.นภัสวรรณ์ ภูริพันธุ์ภิญโญ กุมารแพทย์ประจำโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Dengue virus โดยมียุงลาย ( Aedes aegypti ) เป็นพาหะนำโรค กลุ่มอายุ พบทุกกลุ่มอายุ. การติดเชื้อไวรัสเดงกี. ไม่มีอาการ. มีอาการ.

Download Presentation

โรคไข้เลือดออก DENGUE HEMORRHAGIC FEVER

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไข้เลือดออก DENGUE HEMORRHAGIC FEVER พญ.นภัสวรรณ์ ภูริพันธุ์ภิญโญ กุมารแพทย์ประจำโรงพยาบาลร้อยเอ็ด

  2. สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Dengue virus โดยมียุงลาย (Aedesaegypti) เป็นพาหะนำโรค กลุ่มอายุ พบทุกกลุ่มอายุ

  3. การติดเชื้อไวรัสเดงกีการติดเชื้อไวรัสเดงกี ไม่มีอาการ มีอาการ Dengue Fever(DF)ไข้,หน้าแดง,myalgia, และ TT+ve + WBC < 5,000 + Plt. < 100,000 +จุดเลือดออกตามตัว Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) Viral syndrome หรือUndifferentiated Feverไข้, หน้าแดง,myalgia, TT-ve,CBC ปกติ มีการรั่วของพลาสมา ช็อก (DSS) ไม่ช็อก

  4. การวินิจฉัย อาการและอาการแสดง 1.ไข้สูงลอย 2-7 วัน 2.อาการเลือดออก หรือ TT- test +ve 3.ตับโต กดเจ็บ 4.Shock

  5. การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 1. Platelets < 100,000 หรือ < 3 ตัว/oil field 2. Hct.เพิ่ม> 20% ของbase line หรือ มีหลักฐานการรั่วของพลาสมา เช่น pleural effusion, ascitis

  6. ความรุนแรงของDHF Grade I ไม่shock , TT-test +ve Grade II Grade I+ Spontaneous bleeding Grade III shock, วัดBP ได้ Grade IV shock, วัดBPไม่ได้ * DHF grade I,IIต่างจาก DF ตรงที่มีการรั่วของพลาสมา

  7. การดำเนินโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ 1. ระยะไข้ 2. ระยะวิกฤต/Leakage/Shock 3. ระยะฟื้นตัว

  8. 1. ระยะไข้ 1. ไข้ สูง 40 - 41 C ประมาณ 2-7 วัน 2. หน้าแดง(Flushed face) ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูก 3. อาเจียน กินได้น้อย ซึม 4. ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก(Break bone fever) 5. อาจพบผื่นแบบ Maculopapular rash ได้

  9. 6. มีอาการเลือดออก เช่น Petichiae, Epitaxis, Hematemiasis, Melena, Bleeding per gum ฯลฯ 7. Hepatomegaly (พบวันที่ 3 - 4) 8. TT-test +ve

  10. การเปลี่ยนแปลงทางห้องปฏิบัติการการเปลี่ยนแปลงทางห้องปฏิบัติการ 1. Platelets < 100,000 หรือ < 3 ตัว/oil field 2. WBC ต่ำกว่า 5,000 เริ่มพบวันที่ 3-4 L เด่น พบ ATL ได้ 15-30 % 3. Hemoconcentration 4. TT,PTT,Prolong หรือ อาจพบPTผิดปกติ

  11. 5. CxRมี Pleural effusion 6. LFT : AST (SGOT),ALT( SGPT) เพิ่มขึ้น โดยพบ SGOT > SGPT 2 - 3 เท่า AST>60U มีโอกาสเป็นdengueได้ ถ้าAST/ALT>200U ให้เฝ้าระวังใกล้ชิดHepatic encephalopathyได้ 7. ESR ปกติ

  12. 1. การดูแลรักษาระยะไข้ * การลดไข้ : เช็ดตัว,ให้ Paracetamolเท่านั้น * อาหาร: อาหารอ่อน, ดื่มORS, งดอาหารสี ดำ แดง น้ำตาล * ยาอื่นๆ ใช้เท่าที่จำเป็น เช่น ยากันชัก,ยาแก้อาเจียน, ห้ามให้Steroid,NSAID(โดยเฉพาะ ASA) * การให้IV fluid : ให้เมื่อขาดน้ำเท่านั้น (ไม่เกิน M/2)

  13. * แนะนำสัญญาณอันตรายแก่ผู้ปกครอง * นัดดูอาการเป็นระยะ ๆ โดยเฉพาะ มีไข้มากกว่า 3 วัน ควรนัดมาดูอาการทุกวัน

  14. สัญญาณอันตราย 1.ไข้ลด แต่อาการเลวลง 2.ปวดท้อง หรืออาเจียนมาก 3.มีอาการเลือดออกผิดปกติ 4.พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง 5.Shock หรือ Impending shock

  15. การติดตามผู้ป่วยที่ OPD ไข้สูง+หน้าแดงไม่มีอาการอื่น เช่น URI ทำ Tourniquet test ลบ บวก หาสาเหตุของไข้ CBC,UA นัดFU,TTซ้ำ ถ้า+veทำตามด้านขวา ซักประวัติเลือดออก,วัดv/s,ตรวจร่างกาย,CBCนัดFUทุกวันตั้งแต่ D3 ,แนะนำอาการอันตราย Close observe/Admit ถ้า Plt.< 100,000, Hct.เพิ่ม10-20% ใกล้Leak WBC<5,000

  16. ข้อบ่งชี้ในการAdmit 1.อ่อนเพลียมาก กินไม่ได้ หรือ อาเจียนมาก 2.มีเลือดออก,ปวดท้องมาก 3.Plt. < 100,000 ,+ Hct. เพิ่ม10-20%จากเดิม 4.ไข้ลด แต่อาการแย่ลง 5.Shock หรือ มีการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ 6.ญาติกังวลมาก,บ้านไกล,ไม่มีคนดูแลใกล้ชิด

  17. 2.ระยะวิกฤต/Leakage/Shock -มีการรั่วของพลาสมา > 20% พบในDHFทุกราย - ใช้เวลาประมาณ 24-48 ช.ม. - ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วย มีอาการ SHOCK ได้ - ส่วนใหญ่ Conscious ดี ยกเว้นมีอาการทางสมองร่วมด้วย * อาการShock: ปวดท้องใต้ชายโครงขวา,มือเท้าเย็น, capillary refill >2 sec. ,PP< 20 mmHg, BP<90/60 mmHg

  18. 2. การดูแลในระยะวิกฤต ข้อบ่งชี้ว่าเข้าสู่ระยะวิกฤต 1.Shock 2. Hct.เพิ่ม> 20%ของ baseline 3.Plt. < 100,000 4.มี ascites หรือ pleural effusion * ใช้เวลาประมาณ 24-48 ชั่วโมง

  19. การให้IV fluid ในระยะวิกฤต ให้เมื่อมีข้อบ่งชี้ดังนี้ 1. Hct. เพิ่ม > 20%ของbaseline 2. Hct.เพิ่ม 10 -20 %และ กินไม่ได้ 3. Plt.< 100,000และ กินไม่ได้ 4. Shock

  20. ชนิดของIVที่ให้ในระยะวิกฤตชนิดของIVที่ให้ในระยะวิกฤต 1. Crystalloid solutionเช่น 5% DNSS, 5% DLR, RLS, 0.9%NSSฯลฯ - ขณะShock ให้ 0.9% NSSหรือ RLS - ไม่ Shock #เด็ก <6เดือนให้ 5% DN/2 # เด็ก > 6เดือน ให้ 5% DNSS #ผู้ใหญ่ ให้ 0.9%NSS

  21. 2. Colloidal solution เช่น Plasma ,Dextran - 40 ควรให้ครั้งละ 10 cc/kg/hr. จึงจะhold volumeได้ดี ให้ได้มากที่สุด 30 cc/kg/day ,ถ้าเกินให้เปลี่ยนเป็น Plasmaแทน

  22. ปริมาณและการให้ IV fluidในระยะวิกฤต/SHOCK • B.W <40 kgให้ปริมาณ Maintenance + 5% Deficit. • B.W >40 kgให้ปริมาณ 2 เท่าของ Maintenance • อ้วน ใช้ Ideal Body Weight

  23. Maintenance + 5%Deficit เช่น น้ำหนัก 25 kg M = (10 x 100) + (10 x 50) + (5 x 20) cc = 1,600 cc D = 25 x 50 cc = 1,250 cc (5%Def.=50cc/kg) M + 5 %D ของ น้ำหนัก 25 kg = 1,600+1,250 = 2,850 cc = 119 cc/hr = 4.8 cc/kg/hr

  24. 2 เท่าของ Maintenance เช่น น้ำหนัก 45 kg M = (10x100)+(10x50)+(25x20) = 2,000 cc 2M = 4,000 cc = 167 cc/hr = 3.7 cc/kg/hr

  25. ข้อควรระวัง • สั่งให้IVครั้งละ 500 ml ปรับ rateตามอัตราการรั่วของพลาสมา • ไม่ควรสั่งล่วงหน้าเกิน 6 ช.ม. หรือ เกิน 500 ml/ครั้ง • การปรับ rate IV ประเมินจากอาการทางคลินิก (ได้แก่ อาการทั่วไป ความอยากอาหาร Capillary refill, V/S, Hct, Urine out put)

  26. Rate IV fluid Grade I, II: BW < 15 kg เริ่มที่ 6 - 7 cc/kg/hr : BW 15 - 40 kg เริ่มที่ 5 cc/kg/hr : BW > 40 kg เริ่มที่ 3 - 4 cc/kg/hr * ให้นาน 3 - 4 ชั่วโมง ถ้าดีขึ้น ลด rate ให้เท่ากับ maintenance หรือ อาจปรับRate ขึ้นลงได้ตามอาการผู้ป่วย **ถ้าดีควรเริ่มที่ M + 5%Def. หรือ 2M โดยคำนวนตามBW.

  27. Rate IV fluid(ต่อ) Grade III, IV (Shock): ให้ Freeflow ประมาณ 10 - 15 นาที หรือ 100 - 200ml. แล้วให้ ต่อในอัตราเร็ว 10 cc/kg/hr ให้นาน 1ชั่วโมง ถ้าไม่ดีขึ้น ให้ซ้ำได้อีก 1 ครั้ง หากV/S ยังไม่Stable ควรพิจารณาให้ Colloid

  28. DHF ในผู้ใหญ่ Rate iv ให้คิดเทียบกับน้ำหนัก 50 kg • ml/hr = M/2 80 – 100 ml/hr = M 100 – 120 ml/hr = M + 5%Def. 120 – 150 ml/hr = M + 7%Def. 300 – 500 ml/hr = M + 10%Def.

  29. 300 – 500 ml/hr 1 hr 150ml/hr 1 hr 120 ml/hr 1 hr 100ml/hr 4-6 hr 80 ml/hr 10-12 hr

  30. Rate of IV fluid in DHF Rate of IV fluid (cc/kg/hr) Time of leakage (hr.)

  31. ข้อบ่งชี้ในการให้ Colloid 1. ได้ Crytalloid พอแล้ว แต่V/S ยังไม่ Stable หรือ Hct. ยังเพิ่ม การคำนวณว่า น้ำพอหรือไม่ ? * 6 ช.ม.แรกหลัง Shockให้ได้ 2 เท่าของ M+5% Def. หรือ 2M * หลัง 6 ช.ม. ให้ได้เท่ากับ M+ 5% Def.หรือ 2M (คำนวณตามจำนวนช.ม.ที่ผ่านไป) 2. มีอาการของภาวะน้ำเกิน เช่น แน่นท้อง,หอบ ฯลฯ

  32. 3. ระยะฟื้นตัว • อยากอาหาร • ปัสสาวะบ่อย • Bradycardia, Pulseแรง ชัด, PP กว้าง • มี Convalescent rash อาจพบเป็น Confluent petichial rash • ระยะนี้ใช้เวลา 2-3 วัน

  33. 3. การดูแลระยะฟื้นตัว มีข้อบ่งชี้ดังนี้ 1.อาการทั่วไปดีขึ้น,เริ่มอยากอาหาร 2. V/S stable, PP กว้าง,PR ลดลง และแรงขึ้น 3. Hct.ลดลงเป็นปกติ ( 38 - 40 % ) 4. ปัสสาวะบ่อย, มีผื่น convalescent ขึ้น * กินเวลาประมาณ 2 - 3 วัน

  34. ข้อควรปฏิบัติในระยะฟื้นตัวข้อควรปฏิบัติในระยะฟื้นตัว 1. Off iv fluid 2. ระวัง bleeding ห้ามทำหัตถการรุนแรง เช่น ถอนฟัน, ฉีดยา IM ควรรออย่างน้อย 2 สัปดาห์ 3. ถ้าผู้ป่วยยังไม่อยากอาหาร ควรแนะนำให้กิน น้ำผลไม้ หรือผลไม้นิ่มๆ

  35. ข้อบ่งชี้ในการจำหน่ายผู้ป่วยข้อบ่งชี้ในการจำหน่ายผู้ป่วย 1. ไข้ลดอย่างน้อย 24 ช.ม. 2. หลัง Shock อย่างน้อย 2 วัน 3.ไม่มีอาการหายใจลำบาก และไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ 4. อาการทั่วไปดีขึ้น กินได้ดี ปัสสาวะออกมาก 5. Hct. ลดเป็นปกติ หรือ stable ที่ 38 - 40 % 6. Plt. > 50,000

  36. High Risk Patients * อายุน้อยกว่า 1 ปี * มีภาวะ Shock รุนแรง (Grade IV) * ผู้ป่วยอ้วน ,มีอาการทางสมอง * มีUnderlying เช่น G6PD-Def.,Thalassemia, โรคหัวใจ-ไต-ตับ เป็นต้น ควรRefer หรือ Consult ทุก case

  37. ผู้ป่วยที่ควรส่งต่อ (กรณีไม่มีกุมารแพทย์) 1. Shock > 3 ช.ม. ,Shock > 2 ครั้ง แรกรับresuscitate ที่ER นาน 1 ช.ม. แล้ว V/S ไม่stable 2. มี Underlying disease เช่น G6PD def , Thalassemia โรคหัวใจ, ไต, ตับ เป็นต้น 3. มีภาวะแทรกซ้อน เช่น อาการทางสมอง, เลือดออกมาก,น้ำเกิน 4. แพทย์ไม่มั่นใจในการดูแล

  38. คำแนะนำก่อนกลับบ้าน ควรปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้เป็นเวลา 1 สัปดาห์ 1. กินอาหารอ่อนๆ 2. งดเล่นกีฬา 3. งดขับขี่ หรือ ซ้อน รถจักรยาน - จักรยานยนต์ 4. ระวังกิจกรรมที่อาจทำใหัเลือดออกได้ง่าย เพราะเกล็ดเลือดยังต่ำ และทำงานไม่เป็นปกติ

  39. ภาวะแทรกซ้อนและสาเหตุการตายภาวะแทรกซ้อนและสาเหตุการตาย 1. Electrolyte imbalance: Hyponatremia , Hypocalcemia , Hypoglycemia 2.ภาวะน้ำเกิน, เลือดออกมาก ( โดยเฉพาะ Conceal bleeding) 3. Shock รุนแรงGrade IVหรือGrade IIIแต่Shockนานมากกว่า 6 ช.ม. 4. มี multiple organ failureเช่น ตับ,ไต,สมอง

  40. Pitfalls In DHF Menagement • Dengue infection จริงหรือ? • ถ้าใช่ อยู่ระยะไหน? • ต้องเฝ้าระวังและดูแลแบบDHFทุกราย • ควรให้iv fluid หรือไม่? ถ้าให้ จะให้ชนิดไหน? Rate? • พ้น leak ? ควรoff iv หรือยัง

  41. เบอร์โทรศัพท์กุมารแพทย์โรงพยาบาลร้อยเอ็ดเบอร์โทรศัพท์กุมารแพทย์โรงพยาบาลร้อยเอ็ด • นพ.กฤษฎา 081-8717939 • นพ. ณรงค์ 081-0607436,086-6327887 • นพ.พรชัย 085-0127862 • นพ.ธนรัตน์ 081-8716791 • นพ.พีระพงษ์ 087-2259922,081-8729229 • นพ.มนัสวี 089-6986179 • พญ.พนารัตน์ 084-0286819 • พญ.นิภาพร 085-3606669 • พญ.นภัสวรรณ์ 081-7399097

More Related