1 / 36

21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ

21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ. ในแต่ละระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ ด้วยกันย่อมมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน และสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อาศัยอยู่. “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใด ปัจจัยทางกายภาพ จึงมีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต” ศึกษาได้จาก หัวข้อต่อไปนี้.

Download Presentation

21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ในแต่ละระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ ด้วยกันย่อมมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน และสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อาศัยอยู่

  2. “นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใด ปัจจัยทางกายภาพ จึงมีอิทธิพลต่อการ ดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต” ศึกษาได้จาก หัวข้อต่อไปนี้

  3. 21.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ

  4. อุณหภูมิ มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของ สิ่งมีชีวิต • เป็นปัจจัยในการควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์และการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต

  5. อุณหภูมิ • มีผลทำให้มีการปรับตัวทางด้านโครงสร้าง เช่น มีขนยาวปกคลุม มีชั้นไขมันหนาอยู่ใต้ผิวหนัง

  6. อุณหภูมิ • มีการปรับตัวด้านพฤติกรรม เช่น การอพยพหนีหนาวของนกปากห่าง ชั่วคราวจากตอนเหนือลงมาตอนใต้ของทวีปเอเชีย

  7. แสง มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศโดย • เป็นปัจจัยจำกัดของพืชที่เจริญอยู่ใต้ทะเลลึกระดับต่างๆ

  8. แสง • มีผลต่อการสร้างอาหารของพืช ดังภาพที่ 21-31 • มีผลต่อการสืบพันธุ์ของพืชและสัตว์บางชนิด

  9. แสง • มีผลต่อการเกิดพฤติกรรมต่างๆของพืชและสัตว์บางชนิด

  10. ความชื้น คือ ปริมาณน้ำที่มีอยู่ใน สภาพแวดล้อมแต่ละแห่งมีความ สำคัญต่อระบบนิเวศ เนื่องจาก.....

  11. ความชื้น • เป็นปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสภาพ แวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ลักษณะและชนิดของระบบนิเวศนั้น ๆ

  12. ความชื้น • มีผลต่อการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ ดังภาพที่ 21-32

  13. แก๊ส ที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตคือ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และ ไนโตรเจน

  14. แก๊ส • โดยเฉพาะแก๊สออกซิเจนมีความสำคัญในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด

  15. แก๊ส • พวกที่อยู่บนบก จะได้รับแก๊สออกซิเจนอย่าพอเพียง • พวกที่อยู่ในน้ำ แก๊สออกซิเจนจะเป็นปัจจัยจำกัดในการดำรงชีพที่สำคัญ

  16. ดิน เป็นที่อยู่อาศัยและให้แร่ธาตุแก่พืชและสัตว์ • องค์ประกอบที่สำคัญของดิน คือ แร่ธาตุในดิน อากาศ ความชื้น ปริมาณสารอินทรีย์ในดิน

  17. ดิน • ลักษณะของดินจึงมีอิทธิพลต่อพืชและสัตว์มาก • สัตว์ได้รับแร่ธาตุจาก • การบริโภคพืช • การบริโภคแร่ธาตุจากดินโดยตรง

  18. ความเป็นกรด – เบส ของดินและน้ำ หรือ เรียกว่า ค่า pH • เป็นปัจจัยที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับที่อยู่อาศัยแต่ละแห่ง เช่น

  19. แบคทีเรียและราซึ่งย่อยสลายสารอินทรีย์ทำให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกรดสูงแบคทีเรียและราซึ่งย่อยสลายสารอินทรีย์ทำให้บริเวณนั้นมีสภาพเป็นกรดสูง

  20. การขับถ่ายของเสียของสิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น สัตว์ปีกจะขับถ่ายกรดยูริกลงในดินและน้ำเป็นเวลา นานๆ ทำให้บริเวณนั้น มีสภาพ pH ค่อนข้างต่ำ และเป็นกรด

  21. 21.3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ ในระบบนิเวศแต่ละแห่ง จะมี สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ที่มีความ สัมพันธ์กันในหลากหลายรูปแบบ

  22. โดยปกติ นิยมใช้สัญลักษณ์แทน ความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ โดยที่........ (+) แทนการได้ประโยชน์ (-) แทนการเสียประโยชน์ (0) แทนการไม่ได้และไม่เสียประโยชน์

  23. 1. ภาวะพึ่งพากัน(mutualism) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด • ที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์(+/+) • แต่แยกจากกันแล้วจะทำให้การดำรงชีวิตไม่เป็นปกติหรืออาจตายได้ เช่น

  24. โพรโทซัวในลำไส้ปลวก – ปลวก • ไลเคน ซึ่งเป็น รา – สาหร่ายสีเขียว • ไรโซเบียม – รากพืชตระกูลถั่ว • ไมคอร์ไรซา - พวกสน Mutualism: Lichen on Mangrove http://members.optusnet.com.au/~janewest000/Mangrove/interactions.html

  25. 2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล(commensalism) เป็นความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด อาศัยร่วมกัน โดยที่ • ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์(+) • อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์(0) เช่น

  26. กล้วยไม้ -ต้นไม้ใหญ่ • เหาฉลาม - ปลาฉลาม • เพรียง - ปลาวาฬ • แบคทีเรีย – ผิวหนังคน • ผึ้งหรือนกทำรังบนต้นไม้ http://www.settomorrow.com/images/mboard_1181544607/1181544607.jpg

  27. 3. ภาวะปรสิต(parasitism) เป็น การอยู่ร่วมกันที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งไปอาศัยสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง • ผู้ที่ไปอาศัย เรียกว่าปรสิต(parasite) ได้ประโยชน์(+) • ผู้ถูกอาศัยเรียกว่า โฮสต์(host)เสียประโยชน์(-)

  28. กาฝากบนต้นไม้ • พยาธิต่าง ๆ ในคนและสัตว์ • เพลี้ย กับ ต้นไม้ • เห็บ กับ สุนัข • ไร กับ ไก่ From Mangrove Agfact 1985 R WestParasitism Mistletoe on Mangrove http://members.optusnet.com.au/~janewest000/Mangrove/interactions.html

  29. http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.htmlhttp://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html

  30. 4. การล่าเหยื่อ(predation) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่... • ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ล่า (predator) ได้ประโยชน์(+) • อีกฝ่ายหนึ่งเป็นเหยื่อ(prey)ซึ่งเสียประโยชน์(-)

  31. แมว กิน หนู • นก กิน แมลงและ กบก็กินแมลง • งู กิน กบ • เสือ กิน กวาง http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html

  32. 5. ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน(competition) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอาจเป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน ที่มีความต้องการในสิ่งที่เหมือนกัน แต่สิ่งนั้นมีจำกัด ทำให้เสียประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ (- / -)..

  33. สัตว์แย่งกันครอบครองที่อยู่อาศัยสัตว์แย่งกันครอบครองที่อยู่อาศัย • สัตว์แย่งชิงอาหาร • ฝูงปลาแย่งกันหุบเหยื่อ • ต้นจอกและต้นบัวในน้ำ ศึกษาจากภาพ 21 – 34 และ 21 – 35

  34. 6. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) เป็นการอยู่ร่วมกัน ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ได้ประโยชน์ใน การอยู่ร่วมกัน(+ / +)

  35. แต่เมื่อแยกจากกันก็สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติแต่เมื่อแยกจากกันก็สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ • นกเอี้ยง กับ ควาย • แมลง กับ ดอกไม้ • ปูเสฉวน กับ ดอกไม้ทะเล • มดดำ กับ เพลี้ย

  36. การได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)ใช้สัญญลักษณ์ +, + http://www.ras.ac.th/link15/webweerawut/web/ecosystem1_files/frame.htm#slide0057.htm

More Related