330 likes | 652 Views
การวิจัยในชั้นเรียน. รศ . ดร . วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนา คณาจารย์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี สุร นารี. การวิจัย. การศึกษาค้นคว้าความจริง อย่างเป็นระบบ เพื่อแสวงหาคำตอบจากประเด็น หรือ ปัญหาที่ตั้งเป็นคำถามไว้. การวิจัยทางการศึกษา.
E N D
การวิจัยในชั้นเรียน รศ.ดร.วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การวิจัย การศึกษาค้นคว้าความจริง อย่างเป็นระบบ เพื่อแสวงหาคำตอบจากประเด็น หรือ ปัญหาที่ตั้งเป็นคำถามไว้
การวิจัยทางการศึกษา การศึกษาเพื่อแสวงหาคำตอบที่เป็นความจริง ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ และก่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติ หรือความรู้ใหม่ในวงการศึกษา
การวิจัยทางการศึกษา • หลักสูตร • การคัดเลือกนักศึกษา • การสอน จิตวิทยาการเรียนรู้ • การประเมินผล • สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ ทรัพยากรการเรียนรู้ • อาจารย์และนักศึกษา
การวิจัยในชั้นเรียน อาจารย์ใช้ชั้นเรียนเป็นห้องปฏิบัติการ ศึกษาการสอนและนำผลมาปรับปรุงเป็นวงจร อย่างเป็นระบบ ให้เกิดความเชี่ยวชาญเป็นอาจารย์มืออาชีพ
การวิจัยในชั้นเรียน อาจารย์ค้นหาการสอนที่เหมาะสม ใช้ได้ดีที่สุด ในชั้นเรียนของตนเอง หรือ ในบางสถานการณ์ ต้องอิงฐานข้อมูล อย่างเป็นระบบ มากกว่าการสะท้อนความคิดเห็น แต่เป็นทางการหรือการควบคุมน้อยกว่า การวิจัยทางการศึกษาปกติ เช่น ข้อมูลที่มีอยู่จากการสอนในชั้น
ตัวอย่าง กลยุทธ์การสอน • Problem-based learning • Online instruction • Senior project
ตัวอย่าง • ปัจจัยด้านการสอน • ทักษะ/ รูปแบบของผู้สอน • เนื้อหาที่นำมาสอน • ขนาดชั้นเรียน
จุดเริ่มต้น • อยากปรับปรุง……….. • สงสัยงงเกี่ยวกับ……….. • ผู้เรียนบางคนไม่มีความสุขเกี่ยวกับ…….. • สังเกตผู้เรียนบางคนอ่อน…….. • อยากรู้เกี่ยวกับ……….. • ต้องการรู้มากขึ้นเกี่ยวกับ……… • ต้องการทดลองในชั้นเรียน…….
การตั้งสมมติฐาน การคาดการณ์ หรือ ทำนายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตั้งแต่ 2ตัวขึ้นไป หรือ คาดการณ์คำตอบที่เป็นไปได้ของปัญหาการวิจัยที่กำหนด
การวิจัยในชั้นเรียน สามารถทำวิจัยเล็กๆ เสร็จสิ้นใน 1ภาคการศึกษา โดย อาจจะวางแผนล่วงหน้า หรือ เก็บข้อมูลใน หลายภาคการศึกษา
ขั้นตอนการวิจัย • ตั้งคำถาม • ทบทวนงานวิจัย • วางแผนเก็บข้อมูล • เก็บข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • นำผลที่ได้รับมาใช้ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขั้นตอนที่1 : การตั้งคำถาม คำถามที่ดี มี 3คุณลักษณะ • มีนัยสำคัญต่อสถานการณ์ในชั้นเรียน เกิดความแตกต่างต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน • ผลที่ได้นำสู่การปฏิบัติ เช่น เปลี่ยนกลวิธีสอน • มีความเป็นไปได้- เวลา ความพยายาม ทรัพยากร
ตัวอย่างคำถาม • คำถามไม่ดี นักศึกษาเรียนรู้ได้ดีกว่าโดยactive learningหรือ โดยฟังการบรรยาย • คำถามที่ดี ในวิชาแรกทางวิศวฯ การนำเข้าสู่บทเรียนด้วยประสบการณ์การออกแบบ เพิ่มความตั้งใจของผู้เรียนในการเรียนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ต่อไป
ตัวอย่างคำถาม • มีนักศึกษากี่คนอ่าน assignment ก่อนเข้าชั้นเรียน • นักศึกษาที่มีส่วนร่วมในชั้นเรียนมาก ทำข้อสอบได้ดีกว่า
ตัวอย่างคำถาม • คำถาม - สิ่งที่ศึกษามีผลต่อการเรียน • คะแนนสอบของผู้เรียนสูงขึ้นเมื่อใช้case studies • นักศึกษาเอาใจใส่และทำข้อสอบได้ดีขึ้น เมื่อสอนโดยใช้ multi-media • คำถามที่ดี - การใช้กลยุทธ์การสอน การเปลี่ยนโครงสร้างวิชา หรือ วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคการประเมิน
ขั้นตอนที่ 2: ทบทวนวรรณกรรม • ทบทวนสั้นๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการตั้งคำถามวิจัย ที่ตรงกับเป้าหมาย • ERIC (Educational Resources Information Center) database http://ericir.syr.edu/. • Journal: Medical Teacher, Teaching and Learning etc.
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน การพิสูจน์สมมติฐานโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล • รูปแบบการวิจัย (design) • ระเบียบวิธีวิจัย (methodology) • การวิเคราะห์ข้อมูล เทคนิคทางสถิติที่เหมาะสม • การวางแผนการทำงาน
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล • นักศึกษารายคน/ ทั้งชั้น หรือ บางสถานการณ์ - ทักษะพื้นฐานแรกเข้าและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆ เช่น อายุกับการใช้ online - ศึกษาสาเหตุและผลของความสัมพันธ์ เช่นผลกระทบของการให้การบ้านกับพฤติกรรมการสอบ
ขั้นตอนที่ 3 : การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดของ controlled experimental design ให้ใช้ quasi-experimental design: pre-post tests - เปรียบเทียบผลลัพธ์จากการสอน 2 แบบในวิชาเดียวกัน - ศึกษาเชิงนโยบายด้านความเป็นมนุษย์ โดยทบทวนการสอนปกติในชั้นเรียนที่ไม่คำนึงถึงปัจเจกบุคคล
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล • ทำไมต้องเก็บข้อมูลนี้ (why) • ต้องเก็บข้อมูลอะไร (what) • เก็บข้อมูลได้ที่ไหน นานเท่าใด (where) • เมื่อไรจึงเก็บข้อมูล ช่วงเวลาอย่างไร (when) • ใครเป็นผู้เก็บข้อมูล (who) • รวบรวมข้อมูลอย่างไร นำเสนออย่างไร (how)
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล • เริ่มด้วยข้อมูลที่มี - assignmentsคะแนนสอบ การประเมินอาจารย์ ถ้าต้องการเพิ่ม เลือกที่เก็บและวิเคราะห์ง่าย • หลากหลายข้อมูลให้ผลที่สอดคล้องตรงกัน triangulation : วัดความแม่นตรง
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล triangulation : วัดความแม่นตรง • การประเมินประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มแบบใหม่ต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยศึกษาเกรด ข้อวิจารณ์ในการอภิปรายในชั้น การสังเกตพฤติกรรมในกลุ่มย่อย การประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้ การประเมินการสอนของอาจารย์
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล • เชิงปริมาณ - คะแนนสอบ เกรด คะแนนการสำรวจ (Likert) • เชิงคุณภาพ - focus groups, dept interviews (tape record), projects, term papers, reflective statements: knowledge transfer (apply theory or procedure for what they just learn) • ทั้ง 2 แบบ
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล เทคนิคการเก็บข้อมูล • Interviews • Semi-structured interview • Focus group • Delphi Technique • Checklists • Portfolio/ individual files • Time-on-task analysis
ขั้นตอนที่ 4: การเก็บข้อมูล เทคนิคการเก็บข้อมูล • Diaries/journals/logs • Field notes/observation records • Case study • Student-teacher discussion/interaction/feedback • Questionnaires • Audiotapes/videotapes/photography
ขั้นตอนที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูล • เป้าหมาย เพื่อ ค้นหารูปแบบ - ผลของกลยุทธ์การสอนต่อพฤติกรรมนักศึกษาดีขึ้นจากการสอบโดยเปรียบเทียบ pre-testsหรือ เปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น • การจัดกลุ่มคำวิจารณ์ตามหัวเรื่อง หรือตารางค่าเฉลี่ยคะแนนการสอบ แสดงแนวโน้มของข้อมูล การหาค่าสถิติที่จำเป็น
ขั้นตอนที่ 6 : สรุปผล • การค้นพบจาการวิจัยนำสู่การตัดสินผล - ถ้ากลยุทธ์การสอนใหม่เพิ่มการเรียนรู้ อาจารย์นำมาใช้ต่อไป แต่ถ้าไม่ กลับไปใช้ของเดิม หรือ ทดสอบกลยุทธ์ใหม่
ขั้นตอนที่ 7 : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสอนเป็นกิจกรรมสันโดษ การแลกเปลี่ยน เรียนรู้งานวิจัย เป็นเวทีการอภิปราย ที่น่าสนใจ หรือตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ • ERIC • Journal of the Scholarship of Teaching and Learning • http://www.iusb.edu/~josotl
วิจัยในชั้นเรียน • ช่วยพัฒนาการสอน • ช่วยคันหาสิ่งที่ทำได้ดีในชั้นเรียน • เป็นพื้นฐานการตัดสินใจในการจัดการสอน • เป็นเทคนิคสร้างความเข้าใจในการพัฒนาการสอนอย่างต่อเนื่อง • เป็นแหล่งของการสะสมงานการสอน การประเมินการสอน (portfolio)
สิ่งที่ท้าทาย • เวลา • ประสบการณ์วิจัยสังคมศาสตร์ • Confounding factors : small number, not randomly assign • จริยธรรม • แรงจูงใจ
ทุนวิจัย นำเสนอโครงร่างวิจัย โดยสังเขป แนวคิดเบื้องต้น • ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่พบ • วัตถุประสงค์ • แนวทางการวิจัย • ผลที่คาดจะได้รับย่อๆ
การวางแผนงานวิจัย • โครงร่างการวิจัย • ตารางการทำงาน • สร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล • เก็บข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • เขียนรายงาน: article