180 likes | 369 Views
ประเภทของภาพกราฟิกส์. การสร้างงานกราฟิกส์. การสร้างภาพกราฟิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบคือ แบบ Bitmap (Raster) แบบ Vector (Stroked). กราฟิกส์แบบ Bitmap. เกิดจากจุดสีที่เรียกว่า pixels ประกอบกันเป นรูปร างบนพื้นที่ที่มีลักษณะเป นเส นตาราง
E N D
การสร้างงานกราฟิกส์ การสร้างภาพกราฟิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบคือ • แบบ Bitmap (Raster) • แบบ Vector (Stroked)
กราฟิกส์แบบ Bitmap • เกิดจากจุดสีที่เรียกว่า pixels • ประกอบกันเปนรูปรางบนพื้นที่ที่มีลักษณะเปนเสนตาราง • มีคาของตําแหนง และคาสีของตัวเอง • เหมาะสมตอการแสดงภาพที่มีเฉด และสีสันจํานวนมาก • เชนภาพถาย หรือ ภาพวาด
กราฟิกส์แบบ Bitmap • ภาพแบบ Bitmap เปนภาพที่ขึ้นอยูกับความละเอียด หรือความคมชัด (Resolution)
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.1 พิกเซล (Pixel) เทียบไดกับ "จุดภาพ" 1 จุด ที่บรรจุคาสี และถูกกําหนดตําแหนงไวบนเสนกริดของแนวแกน x และแกนy ภาพบิตแมปจะประกอบดวยพิกเซลหลายๆ พิกเซล
กราฟิกส์แบบ Bitmap พิกเซลของภาพเฉดสีขาว/ดํา พิกเซลของภาพสี
กราฟิกส์แบบ Bitmap • จํานวนพิกเซลของภาพแตละภาพ จะเรียกวา ความละเอียด หรือResolution • โดยจะเทียบจํานวนพิกเซลกับความยาวตอนิ้ว ดังนั้นจะมีหนวย เปนพิกเซลตอนิ้ว (ppi: pixels per inch) หรือจุดตอนิ้ว (dpi; dot per inch)
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.2 เอสเปกเรโซของภาพ (Image Aspect Ratio) แอสเปกเรโชของภาพ คือ อัตราสวนระหวางจํานวนพิกเซลทางแนวขวางและจํานวนพิกเซลทางแนวดิ่งที่ใชในการสรางภาพ ขนาดของภาพและมักจะเขียนใน รูปของ 800 x 600
กราฟิกส์แบบ Bitmap • 1.3 รีโซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณแสดงกราฟกชนิดหนึ่งมีอยู่ มักระบุเปนจํานวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจํานวนพิกเซลในแนวตั้งคือแนวแกน Y ผูผลิตอุปกรณแสดงกราฟกส์บางรายจะระบุคารีโซลูชัน เป็น • ระดับสูง (High Resolution) • ปานกลาง (Medium Resolution) • และระดับต่ำ (Low Resolution)
กราฟกส์แบบ Vector • สรางดวยสวนประกอบของเสนลักษณะตางๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเสนนั้นๆ ซึ่งสรางจากการคํานวณทางคณิตศาสตร์ • เมื่อมีการแกไขภาพ ก็จะเปนการแกไขคุณสมบัติของเสน ทําใหภาพไมสูญเสียความละเอียด • เช่น ภาพ .wmf ซึ่งเปน clipart ของ Microsoft Office ,Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand
กราฟกส์แบบ Vector 2.1 ออบเจ็กต (Object) • ออบเจ็กตงายๆ (เชน วงกลม เสนตรง ทรงกลม ลูกบาศก และอื่นๆ เรียกวารูปทรงพื้นฐาน) สามารถใชในการสรางออบเจ็กตที่ซับซอนขึ้น • กราฟกแบบเวกเตอรใชคําสั่งงายๆ เพื่อสรางออบเจ็กตพื้นฐาน "ลากเสนตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลม รัศมี R โดยมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด P"
เปรียบเทียบคุณสมบัติของกราฟกส์แบบบิตแมปและภาพแบบเวกเตอร • ในดานความเร็วของการแสดงภาพที่จอภาพ กราฟกแบบบิตแมปสามารถแสดงใหเห็นที่จอภาพไดเร็วกวาภาพแบบเวกเตอร์ • ความสามารถในการเปลี่ยนขนาดภาพ ภาพแบบบิตแมปจะทําไดไมมาก นอกจากนั้นยังอาจจะทําใหลักษณะของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมดวย
ประเภทของระบบกราฟกส์ประเภทของระบบกราฟกส์ • เท็กซโหมด (Text Mode) โดยผลลัพธที่แสดงออกมาทางจอภาพนั้น จะมีลักษณะเปนแถวของตัวอักษรจํานวน 25 แถวแตละแถวมีขอความไมเกิน 80ตัวอักษร • กราฟกโหมด (Graphic Mode) มีหลายชนิด เชน ซีจีเอ (CGA) อีจีเอ (EGA) วีจีเอ (VGA) เฮอรคิวลีส (Hercules)
ประโยชนของคอมพิวเตอรกราฟกประโยชนของคอมพิวเตอรกราฟก • ใช้แสดงผลงานดวยภาพแทนการแสดงดวยขอความ • ใชแสดงแผนที่ แผนผัง และภาพของสิ่งตางๆ • ใช้ในการออกแบบทางดานตางๆ • ไดมีการนําคอมพิวเตอรกราฟกมาชวยทางการดานเรียนการสอน • คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการจําลองสถานการณ์ • คอมพิวเตอรกราฟกสามารถนํามาสรางภาพนิ่ง ภาพสไลด ภาพยนตร และรายการวิดีโอ • คอมพิวเตอรกราฟกที่มีผูรูจัก และนิยมใชกันมากคงจะไดแก เกมส์
ไฟล์สกุล GIF(Graphics Interlace File) ภาพกราฟิกส์สกุล GIF จัดเป็นไฟล์ภาพสำหรับการเผยแพร่ผ่าน ทางอินเตอร์เน็ตตั้งแต่ยุคแรกๆ ข้อดี • สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) ได้ • มีขนาดไฟล์ต่ำ จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ สามารถส่งไฟล์ภาพได้รวดเร็ว • ทำพื้นของภาพให้โปร่งใสได้ (Transparent) • มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก • เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว • มีความสามารถด้านการนำเสนอภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation) ข้อเสีย สามารถแสดงสีได้เพียง 256 สี ไม่เหมาะกับการนำเสนอภาพที่ต้องการความคมชัด หรือภาพสดใส
ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Expert Group) เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บนระบบอินเตอร์เน็ต มักใช้ในกรณี • ภาพที่ต้องการนำเสนอมีความละเอียดสูง (24 bit color) • ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้ • ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นำมาสแกน และต้องการนำไปใช้บนระบบอินเตอร์เน็ต ข้อดี • สนับสนุนสีได้ถึง 24 bits • สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามต้องการ • มีโปรแกรมระบบสนับสนุนจำนวนมาก • เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว ข้อเสีย ทำให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้
ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) ไฟล์สกุลล่าสุดที่นำจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPG มาพัฒนาร่วมกัน จึงเป็นที่นิยมอีกสกุล หนึ่งในปัจจุบัน • สามารถใช้งานข้ามระบบ • ขนาดไฟล์เล็ก • มีคุณสมบัติในการทำภาพโปร่งใส • แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดที่ดีกว่า • มีคุณสมบัติ Gamma ทำให้สามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ และปรับระดับความสว่างที่แท้จริงตามที่ควรจะเป็น ข้อดี • สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True Color(16 bits,32bits หรือ 64 bits) • สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามต้องการ • สามารถทำภาพโปร่งใสได้
ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) ข้อเสีย • หากกำหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดไฟล์จะมีขนาดต่ำ • ไม่สนับสนุน Graphics Browser รุ่นเก่า • ความละเอียดของภาพ และจำนวนสี ขึ้นอยู่กับ Video Card • โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย