1.74k likes | 2.61k Views
บทที่ 9 การเขียนบทความวิจัย - วิชาการ. นภัทร วัจนเทพินทร์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. 25 สิงหาคม 2555. เรียบเรียงจากการบรรยายของ ศ.ดร.มรว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ [1]. President of Science society of Thailand Editor of Science Asia.
E N D
บทที่ 9 การเขียนบทความวิจัย-วิชาการ นภัทร วัจนเทพินทร์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 25 สิงหาคม 2555
เรียบเรียงจากการบรรยายของ ศ.ดร.มรว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์[1] President of Science society of Thailand Editor of Science Asia
เติมความเข้มข้น รศ.ดร.สุรพจน์ วงศ์ใหญ่[2] คณบดี มหาวิทยาลัยรังสิต
เสริมรายละเอียดด้วย Prof. Dr.Xiaohua Jia [3] Department of Computer ScienceCity University of Hong KongEmail: csjia at cityu.edu.hk
เน้นให้ชัดขึ้น...จาก ผศ.ดร.สมชาย นำประเสริฐชัย[4] อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2535 ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544
สุดท้าย...เติมให้เต็มจากสุดท้าย...เติมให้เต็มจาก Professor Anthony P.F. Turner[5] • Editor-In-Chief, Biosensors & Bioelectronics, Distinguished Professor of Biotechnology, Commercial Director, Cranfield Health, Director Cranfield Ventures • PhD, DSc, FRSC • Cranfield University, UK
บรรณาธิการยอดหทัย เทพธรานนท์ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์
Why publication is important ? • What is a good manuscript ? • The comprise of manuscript. • Titles, and an example. • Author, and an example. • Abstract, and an example.
What is the Material & Methodology ? • Material & Methodology technic, and example. • Results writing technic, and example. • Discussion writing technic, and example. • Acknowledgement, and example. • References, and example. • The sequence to write a manuscript.
”Publication is important” Sir. Isaac Newton (1643-1727)
ทำไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ • ทำให้งานของท่านไม่หายไปจากโลก • ทำให้ผู้อื่นเข้าใจแนวคิดของท่านและ • มีแนวคิดใหม่ที่จะต่อยอดความรู้ • ทำให้เกิดงานใหม่ที่ประสบความสำเร็จ
ทำไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญทำไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ • การวิจัยเปรียบเหมือนการต่อยอดฐานความรู้ที่มีการสั่งสมกันมาจากนักวิจัยที่ตีพิมพ์งานวิจัยก่อนหน้าเรา และเราก็ได้ความรู้มาจากการเข้าถึงสิ่งตีพิมพ์เหล่านั้น ผลงานวิจัยใหม่จากการวิจัยของเราเองก็ควรได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อเป็นการสั่งสมความรู้ให้เพิ่มขึ้นไปอีก และเพื่อให้คนอื่นนำไปใช้ประโยชน์ได้ ผลงานวิจัยที่ไม่มีการตีพิมพ์ก็จะหลุดออกไปจากองค์ความรู้โดยรวม และจะเปรียบเสมือนไม่มีผลงานวิจัยชิ้นนั้นเกิดขึ้นเลย (ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์)
ทำไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ เอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ.(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 กำหนดความหมายของการเผยแพร่ไว้ดังนี้ • เผยแพร่ในรูปแบบของบทความทางวิชาการในวารสารวิชาการ ทั้งนี้อาจเผยแพร่เป็นรูปเล่มสิ่งพิมพ์ หรือเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทำไมการตีพิมพ์จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ • เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความในรูปแบบอื่นที่มี บรรณาธิการการประเมิน และตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ในหนังสือนั้นแล้ว • เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ(Proceeding) ของการประชุมทางวิชาการในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ที่มีบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ที่นำเสนอนั้น
ส่วนประกอบของบทความ[2],[4]ส่วนประกอบของบทความ[2],[4] 1.ชื่อเรื่อง (Title) และข้อความเกี่ยวกับผู้เขียน (By-line) 2.บทคัดย่อ (Abstract or summary) 3.บทนำ (Introduction) 4.วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ (Materials and Method) 5.ผล (Results) 6.บทวิจารณ์ (Discussion) 7.บทสรุป (Conclusion) 8.คำขอบคุณ (Acknowledgement) 9.เอกสารอ้างอิง (References or literature cited)
ส่วนประกอบของบทความ[5] Title Authors (and byline) Abstract Keywords Main text Introduction Materials and Methods Results Discussion Conclusions Acknowledgements References
ส่วนประกอบของบทความ[3] • Title • Abstract • Key words • Introduction • Related Work • System Model & Problem Statement • Methods / Solutions • Simulations / Experiments • Conclusion • Acknowledgement • References
สรุปส่วนประกอบของบทความสรุปส่วนประกอบของบทความ 1. Title (ชื่อเรื่อง) 2. Author (ผู้เขียน) 3. Abstract (บทคัดย่อ) 4. Keyword (คำสำคัญ) 5. Introduction (บทนำ)
สรุปส่วนประกอบของบทความสรุปส่วนประกอบของบทความ 6. Material & Methodology (วัสดุและวิธีการ) 7. Results (ผลการวิจัย) 8. Discussion (อภิปรายผล/บทวิจารณ์) 9. Acknowledgement (กิตติกรรมประกาศ) 10. Reference(เอกสารอ้างอิง)
What is a good manuscript ?[1] Title Short and descriptive Abstract Clear and Concise summary of work Introduction The research question clearly, and relation to the knowledge of this field Methodology Clearly Result Answer the research question
ชื่อเรื่อง (Title) “Short & Descriptive” “8 – 12 words long, mentioning both independent & Dependent variables.”[1]
ชื่อเรื่อง (Title) A good title should contain the fewest possible words that adequately describe the contents.[5] “ ชื่อบทความทำหน้าที่เหมือนป้ายโฆษณา ”รศ.ดร. อุดมศิลป์ ปิ่นสุข
ชื่อเรื่อง(Title) • is concise, and identifies the main issue of the paper • can attract readers • Please do not include infrequently-used abbreviations[5]
ชื่อเรื่อง(Title) • The title should be very specific, not too broad. • The title should be substantially different from others.[3] • ไม่ยาว ไม่เว่อร์ ไม่เบลอ(ศ.ดร.ยอดหทัย เทพธรานนท์)
ชื่อเรื่อง(Title) • ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำ คำย่อ ศัพท์เทคนิค เช่น พรบ , กทช , GMO, Fe , PV ,ect
สรุปชื่อเรื่องที่ดี • สั้น กระชับ มีความสมบูรณ์ • ชี้ให้เห็นประเด็นหลักของบทความ • ต้องโดนใจผู้อ่าน(Peer review) • ใช้คำเฉพาะ ชื่อเฉพาะ อย่าใช้คำที่มีความหมาย กว้างและอย่าใช้คำย่อ
ตัวอย่าง ชื่อเรื่อง “การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีการผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อผลผลิตข้าวพันธุ์ ปทุมธานี 1” “การผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับข้าวพันธุ์ ปทุมธานี 1ด้วยเทคนิค...........”
ตัวอย่าง ชื่อเรื่อง “Topology control for multi loop wireless networks” “Topology control of multi loop wireless networks using transmit power adjustment”
ตัวอย่าง ชื่อเรื่อง • การศึกษาการลดลงของประสิทธิภาพรายปีของ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ภายใต้สภาวะการใช้งานจริง • คุณสมบัติและคุณภาพของแบตเตอรีที่เหมาะสม สำหรับระบบพลังงานจากแสงอาทิตย์ • การสร้างเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยน โปรตรอน ด้วยวิธีซีซีเอ็มที่ใช้ตัวทำละลายแตกต่างกัน
Author (ผู้เขียน) “Must be agree upon”[1] 1st Author Does the most work. Co-Authors Contributesto work. Corresponding Author Leader Team.
Who is the Author ? The 1st Author is primary for collecting, and analyzing data, and writing. • The 2nd Author analyzing the major part in article. • The Last Author is investigated assumerthe overall responsibility of the study.
Author (ผู้เขียน) • ข้อความเกี่ยวกับผู้เขียน ต้องชัดเจน ได้แก่ชื่อ-สกุล ของผู้เขียน(และคณะ หากมีหลายคน) และสังกัด • ชื่อของผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีคำนำหน้า ควรระบุชื่อทุกคน[3] • People who have helped, but not authors, should be acknowledged.[5]
ชื่อเรื่อง Byline ตัวอย่าง ผู้เขียน ผู้เขียน
บทคัดย่อ (Abstract) • บทคัดย่อคือส่วนที่ถูกอ่านมากที่สุด หลายครั้งนักวิจัยจะอ้างอิงงานวิจัยนั้นๆ โดยอ่านเฉพาะบทคัดย่อ • บทคัดย่อควรบอกประเด็นปัญหาวัตถุประสงค์ วิธีการหรือแนวทางการศึกษาอย่างย่อ ควรเน้นสิ่งใหม่ที่ได้ค้นพบหรือสร้างขึ้น (ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์)
บทคัดย่อ (Abstract) • บทคัดย่อควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์และวิธีการหรือแนวการศึกษา สำหรับวิธีการใหม่ควรกำหนดหลักการ แนวทางการปฏิบัติ และขอบเขต[2] • บทคัดย่อคือบทสรุปเนื้อหาทั้งหมดของบทความ ทั้งบทนำ วิธีวิจัย ผลการทดลองและบทวิเคราะห์ที่สำคัญ (ดร.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร)
2. Short cover[1] 2.1 Objective 2.2 Description of Sample 2.3 Description of Methodology 2.4 Results 2.5 Conclusion บทคัดย่อ (Abstract) • Whole resume article in minute with out “Specific detail”
สรุป บทคัดย่อ คือ • บทคัดย่อ คือเนื้อหาสรุปของผลงานวิจัยในบทความวิจัยนั้นประกอบด้วย วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัยผลวิจัยที่ค้นพบใหม่และบทสรุปการวิจัย
เทคนิคการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) • บทคัดย่อนิยมเขียนหลังจากที่ผู้เขียนได้เขียนเรื่องทั้งหมด จบลงแล้ว • ควรอ่านทบทวนและบันทึกสาระสำคัญในเรื่อง ลักษณะของปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีการ ผล สรุปผล และข้อเสนอแนะสำหรับงานขั้นต่อไป แล้วนำมาเรียบเรียงเป็นบทคัดย่อในภายหลัง[2]
เทคนิคการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) • พยายามเขียนบทคัดย่อให้กระชับ ความยาวไม่ควรเกิน 200 คำ และควรมีย่อหน้าเดียวไม่ควรมีหลายย่อหน้า[2],[3] • ผู้อ่านกว่าครึ่งจะอ่านบทคัดย่อก่อนตัดสินใจว่าจะอ่านบทความวิจัยทั้งเรื่องหรือไม่
เทคนิคการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) • บทคัดย่อไม่ควรระบุสิ่งใดที่มิได้มีปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง และไม่ควรนำเอาชื่อเรื่องมากล่าวซ้ำ[2] • ไม่ควรอ้างอิงเอกสาร รูปภาพ และตารางใดๆ ในบทคัดย่อ[1],[2]
ขั้นตอนการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) 1. เริ่มต้น 1-3 ประโยคแรก เพื่อบอกว่า ทำอะไร ด้วยวิธีใด โดยตัดหรือ ปรับจากประโยคหลักในหัวข้อ บทนำ(Introduction) หรือหัวข้อ วิธีการทดลอง หรือวิธีการออกแบบ วิธีคำนวณ(ให้บอกรายละเอียด) 2. ดึงประโยค Results ที่เป็นข้อสรุปสำคัญ เพื่อบอกผลที่ได้จากการวิจัย
ขั้นตอนการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) 3. ดึงประโยค Discussion ที่สรุปว่าข้อมูลหรือข้อสรุปใดของงานวิจัยของเราที่มีความน่าเชื่อถือหรือถูกต้องกว่างานที่ผ่านมา