1 / 46

พยาธิใบไม้เลือด ( Blood Flukes )

พยาธิใบไม้เลือด ( Blood Flukes ). พยาธิใบไม้เลือด ( Blood Flukes ) พยาธิใบไม้ในเลือดมีลักษณะแตกต่างจาก พยาธิใบไม้ชนิดอื่นๆ 1. มีเพศแยกกัน ( Dioecious) 2. ไข่ไม่มีฝา ( no operculum) 3. cercaria มีลักษณะพิเศษเป็น Forked tail

paiva
Download Presentation

พยาธิใบไม้เลือด ( Blood Flukes )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พยาธิใบไม้เลือด (Blood Flukes)

  2. พยาธิใบไม้เลือด (Blood Flukes) • พยาธิใบไม้ในเลือดมีลักษณะแตกต่างจาก • พยาธิใบไม้ชนิดอื่นๆ • 1. มีเพศแยกกัน ( Dioecious) • 2. ไข่ไม่มีฝา ( no operculum) • 3. cercaria มีลักษณะพิเศษเป็น Forked tail • 4. ไม่มีระยะ Metacercaria

  3. Blood Fluke ที่พบในคนมี 4 ชนิด ได้แก่ .. • Schistosoma haematobium • (Bilharz , 1852 ; Weinland , 1858) • Schistosoma mansoni • (Sambon , 1907) • Schistosoma japonicum • (Katsurada , 1904) • Schistosoma mekongi • (Voke & Bruce , 1975)

  4. โรคที่เกิดจากพยาธิพวกนี้เรียกว่า Schistosomiasis หรือ Bilharziasis • Schistosome ทั้ง 4 ชนิดนี้มีพยาธิกำเนิด , พยาธิสภาพตลอดจนลักษณะทาง • คลินิกคล้ายคลึงกัน แตกต่างกันที่แหล่งแพร่กระจาย คือ

  5. การแพร่กระจาย (Geographical distribution) S. haematobium : พบแถว แอฟริกา ตะวันออกกลาง อินเดีย S. mansoni : พบแถว อเมริกาใต้ หมู่เกาะ ในทะเลคาริเบียน S. japonicum : พบแถว จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย ริมฝั่งแม่น้ำโขง S. mekongi : พบแถวลาวชายแดนจังหวัด อุบลราชธานี หมู่เกาะลุ่มน้ำโขง

  6. รูปร่าง (Morphology) - ตัวผู้ อ้วนและสั้นกว่าตัวเมียมี gynaecophoric canal สำหรับไว้รัดตัวเมียเวลาผสมพันธุ์ - ตัวผู้ มี ventral sucker ใหญ่กว่า Oral sucker ตัวเมียมี ventral sucker เท่าๆกับ Oral sucker - ทางเดินอาหารไม่มี pharynx Esophagus แยกเป็น 2 intestines แล้วกลับมารวม กันอีก

  7. Genital organ • ตัวผู้ มี Testes อยู่หลัง Ventral sucker • ตัวเมีย มี Ovary อยู่หลัง Reunion ของ Intestine • - ในการจำแนกชนิดของ Schistosome ทั้ง 4 species • สามารถสังเกตได้จาก • 1. ตัวผู้ • Tubercle ที่ Cuticle • จำนวนและ arrangement ของ Testes • ตำแหน่ง Reunion ของ Intestine

  8. 2. ตัวเมีย • ตำแหน่งของ Ovary • ความยาวของ Uterus และ ลักษณะของไข่ • และจำนวนไข่ใน Uterus • 3. Egg • ไม่มี Operculum แต่มี Spine ลักษณะไข่และตำแหน่งของ Spine แตกต่างกัน ในแต่ละspecies

  9. S. japonicum มีขนาด 90 X 65 um • S. mekongi มีขนาด 45 X 40 um • S. mansoni มีขนาด 150 X 60 um • S. haematobium มีขนาด 150 X 60 um

  10. Schistosoma mekongi

  11. Schistosoma mansoni

  12. Schistosoma haematobium

  13. ไข่พยาธิใบไม้เลือด

  14. - ตำแหน่งของพยาธิตัวแก่ ที่อยู่ในร่างกายโฮสต์ • อยู่ใน Venule ต่างๆกัน ดังนี้ • S. japonicum ส่วนมากอยู่ใน Superior mesenteric • veins (venule ของลำไส้เล็ก) • S. mekongi ส่วนมากอยู่ใน Superior mesenteric • และ Portal veins

  15. S. mansoniส่วนมากอยู่ในInferior • mesenteric veins (venule ของ • ลำไส้ใหญ่) • S. Haematobium ส่วนมากอยู่ใน Venule • ของ Pelvic region ได้แก่ • Vesical & hemorrhoidal • vein เช่น Urinary • bladder & Rectum

  16. วงชีวิต (Life cycle) • ทั้ง 4 species คล้ายกัน ต่างกันแค่ตำแหน่ง • ของเส้นเลือดดำ ที่ Adult worms อาศัยอยู่ • เริ่มจากไข่ออกมากับอุจจาระ หรือ • ปัสสาวะลงในน้ำที่อุณหภูมิค่อนข้างอุ่น และใส • ไข่มี Miracidium ที่เจริญเต็มที่แล้ว • เมื่อถึงน้ำจะฟักตัวทันที

  17. - Miracidium ออกจากไข่แล้วไชเข้าหอยน้ำจืด • เป็น 1st Intermediate host • S. japonicum Oncomelania sp. • S. mansoni Biomphalaria sp. • S. haematobium Bulinus sp. • Physopsis sp. • S. mekongi Tricula sp. • ถ้า miracidium ไม่พบหอยจะตายภายใน 16-32 ชม.

  18. - ภายในหอย miracidium จะเจริญเป็น • mother sporocyst • daughter sporocyst • redia • และเป็น Cercaria ชนิด Forked tail cercaria • โดยใช้เวลาในหอยประมาณ 1-2 เดือน • - จากนั้น Cercaria จะออกจากหอย ว่ายน้ำไป • คอยไชเข้า Host • ถือว่า Cercaria เป็นระยะ infective stage

  19. ในคนซึ่งเป็น Definitive host • Cercaria ไชเข้าผิวหนัง เข้าสู่เส้นเลือดฝอย • ไปที่กระแสเลือด • เข้าหัวใจห้องขวา • (ติดอยู่ที่ปอด 2-3 วัน) ปอด • เข้าไปไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด หัวใจห้องซ้าย

  20. Portal vein เข้าสู่ตับ เจริญเป็น Adult Flukes จับคู่กัน ออกจากตับมาอยู่ที่ venule ตามตำแหน่งต่างๆ - ประมาณ 4-5 อาทิตย์ หลังจากได้รับ infection จะตรวจพบไข่ในอุจจาระ

  21. พยาธิสภาพ (Pathology) • - เกิดโรค Schistosomiasis หรือ Bilharziasis • - โดยพยาธิสภาพจะแตกต่างกันตามที่ adult ของ • พยาธิอาศัยอยู่ • S. japonicum ทำให้เกิดพยาธิสภาพ และ • S.mansoni อาการทางสำไส้ • S.mekongi ตับ และม้าม • S. haematobium ทำให้เกิดพยาธิสภาพใน • Bladder และมีอาการทาง • ปัสสาวะ

  22. แบ่ง Pathologic stage เป็น 3 ระยะ • 1. Incubation Period (Prepatent Period) • 2. ระยะ Egg deposition and extrusion • - เป็นระยะ acute • 3. Tissue proliferation and repair • - เป็นระยะ chronic

  23. 1. Incubation Period (Prepatent period) • - เป็นระยะตั้งแต่ได้รับ infection จนกระทั่ง • พยาธิเจริญไปเป็น Adult • - พยาธิสภาพเริ่มจาก cercaria ไชเข้าผิวหนัง • จะเกิดตุ่มแดง คัน (คล้ายเป็นลมพิษ) • ถ้าเกาถลอก แล้วมี Bacteria ผสมด้วยจะเกิด • เป็น Dermatitis • - Cercaria จะอยู่ที่ผิวหนังประมาณ 24-36 ชม. • ก็จะเข้าสู่กระแสเลือด ผ่าน หัวใจห้องขวาไป • เจริญอยู่ที่ปอด 2-3 วัน กลายเป็น young worms

  24. - การเดินทางในปอดทำให้เกิดมีการตกเลือด • (Haemorrahage) และมี Eosinophils ; epitheloid • cell , giant cell มาอยู่รอบๆเส้นเลือด pulmonary • - young worms จะเดินทางต่อไปยังตับ และไปเจริญ • อยู่ที่หลอดเลือด intrahepatic portal blood vessels • และทำให้เกิดการอักเสบขึ้น พบว่าที่ผนังสำไส้เล็ก • จะมีเลือดคั่งด้วย

  25. - ระยะนี้คนไข้จะมีอาการไอ , มีไข้ มีอาการอักเสบ • ของปอดและหลอดลม (ถ้าฟังปอดจะได้ยินเสียง • วีดเบาๆ) • ตรวจเลือดพบ Eosinophil สูง • ระยะที่เป็นมาก อาจพบมีไข้สูง , หนาวสั่น , • ปวดศรีษะ , ต่อมน้ำเหลืองโต ตับและม้ามโต • อาจมีลมพิษเกิดขึ้นทั้งตัว หน้า และตาบวม • - พยาธิที่อยู่ในหลอดเลือดที่ตับจะเจริญเป็นตัวแก่ • และแยกเพศอย่างชัดเจน จับคู่กัน จากนั้นจะ • ออกจากตับไปอยู่ใน venule ที่มันชอบอยู่

  26. 2. Egg deposition & extrusion • - เป็นระยะวางไข่ และไข่เข้าไปในสำไส้ โดยที่ • ตัวเมียซึ่งถูกผสมแล้วจะวางไข่ทีละใบ ใน • ปลาย venule ที่มันอยู่ • - ไข่จะถูกปล่อยเรียงออกมาคล้ายแถวลูกปัด • โดยจะถูกขับออกมาใน Lumen ของ ลำไส้ • หรือ Urinary Bladder (แล้วแต่ชนิดของ • พยาธิ) และจะถูกขับออกมาสู่ภายนอก • พร้อมอุจจาระ หรือปัสสาวะ

  27. - ไข่บางส่วนจะตกค้างอยู่ในผนังสำไส้หรือ • อวัยวะอื่น • - Miracidium จะมีชีวิตอยู่ได้นานประมาณ 21 วัน • ก็จะตาย • - เมื่อไข่ตาย และยังค้างอยู่ใน Tissue ก็กลายเป็น • Focus ทำให้เกิด Lesion รอบๆไข่ต่อไปในระยะที่ 3

  28. - ไข่ส่วนอื่นของ Schistosome ที่อยู่ในเส้นเลือด • จะถูกกระแสเลือดพัดกลับเข้ามาติดอยู่ในตับ • และถ้าไข่มีจำนวนมากๆก็จะอุดตัน Portal veins • ทำให้มีเลือดคั่งในตับ • - เกิดตับโต และเกิด Back pressure ไปทำให้ม้าม • โตด้วย • - ถ้าได้รับ infection มาก พยาธิออกไข่มากเข้าก็ • มีผลไปทำให้ตับโต ม้ามโตมากขึ้นทุกที

  29. 3. Tissue proliferation & Repair • - ไข่ที่ค้างอยู่ใน Portal vessel จะทอดผ่านเส้น • เลือดไปอยู่รอบๆเส้นเลือด • - จะมี Round cell infiltration รอบๆไข่ • - เกิด Pseudo-abscess ซึ่งมีลักษณะที่ประกอบ • ด้วย Leukocytes ชนิดต่างๆ และเนื่องจากมี • Toxic product จากตัวพยาธิ ก็ทำให้เกิดมี • Inflamatory cells ในทุกแห่งที่มีพยาธิอยู่ • - ไข่มีโอกาสพลัดเข้าสู่สมอง , ปอด , หัวใจ และ • ที่อื่นๆได้

  30. S. japonicum • S. mekongi จะอยู่ในตับและในลำไส้ • S. mansoni • S. haematobiumเกิด Lesion ที่ Bladder , • Urethra • - Miracidium ที่อยู่ในไข่ อายุเกิน 21 วัน จะตาย • และเกิดการมีหินปูนมาสะสม (Calcification) • ค้างอยู่ใน Tissue

  31. - ภาวะที่ทำให้ไวต่อสิ่งกระตุ้น (Toxic-sensitization • reaction) จะมีนานตลอดชีวิตพยาธิ เช่น อาจถึง 25 ปี • ถ้าผู้ป่วยมีอายุยืนอยู่ต่อไป นอกจากจะเป็น Pseudo- • abscess ซึ่งมี Proliferation ของ Round cells เกิดการ • เปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อบริเวณนั้นจนในที่สุด organ • จะทำหน้าที่เสื่อมลง • - ระยะสุดท้ายนี้อยู่ได้นานหลายปี หรือผู้ป่วยอาจตายเสีย • ก่อนด้วยโรคแทรกซ้อน เช่น อาจเกิดเป็น Pneumonia • หรือ Carcinoma ได้

  32. การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • 1. ดูอาการทาง clinic เช่น ตรวจพบ • มีเม็ดเลือดขาว Eosinophil สูง • 2. ประวัติผู้ป่วย มาจาก endemic area • 3. ตรวจหาไข่พยาธิ • - จากปัสสาวะพบไข่ S. Haematobium - อุจจาระพบไข่ S. japonicum • S. mekongi • S. mansoni

  33. 4. Rectal biopsy ตัดเนื้อจากบริเวณ Rectum • หรือจาก Urinary Bladder มาตรวจหาไข่ • 5. Immunodiagnosis • - Intradermal test โดยใช้ antigen ทีทำจาก • พยาธิตัวแก่ • - Complement fixation test เชื่อถือได้ • 90-100 % แต่วิธีค่อนข้างยาก • - Seroimmunologic diagnosis test ในรายที่ไม่พบไข่พยาธิในอุจจาระ

  34. การรักษา (Treatment) • - ปัจจุบันใช้ยา Praziquantel รักษา • ขนาด 20-30 mg/kg Body Weight • เช้า-เย็น 1 วัน (1 เม็ด = 600 mg)

  35. การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) • 1. ให้การรักษาผู้ป่วยทุกคน • 2. แนะนำการใช้ห้องส้วม • 3. ทำลาย Host (หอยที่เป็น Host) • 4. หลีกเลี่ยงการว่ายน้ำ , ท่องน้ำ ในบริเวณ • แหล่งพยาธิ (ทำ Water Supply)

  36. Non-human Schistosome dermatitis • Schistosome ของสัตว์ที่พบในประเทศไทย • มี • 1. Schistosoma spindale • 2. Orientobilharzia harinasutai • 3. Trichobilharzia maegraithi • 4. Schistosoma incognitum

  37. - Schistosome เหล่านี้เป็น Blood fluke ของสัตว์ • พวก วัว ควาย เป็ด ไก่ • - Cercariae ซึ่งออกมาจากหอย เมื่อไชเข้าผิวหนัง • ของคนจะทำให้เกิดเป็นอาการ ตุ่ม คัน • แต่ cercaria จะไม่เจริญเป็น Adult ในคน

  38. - ในประเทศไทย พบว่า Schistosoma spindale • มี Intermediate Host เป็นหอยชนิด • Indoplanorbis exustus และ Definitive Host • เป็น วัว และควาย • - ถ้า infect คน เกิดอาการผื่นคันที่ผิวหนัง • เรียกโรค Cercarial dermatitis • Swimmer’s itch Clam digger’s itch Sawah itch

  39. การรักษา (Treatment) • - ให้ยาพวก antihistamine รับประทาน • - ยาพวก Steroid ทา • การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) • - สวมรองเท้าบู๊ตก่อนลงย่ำน้ำ • - ใช้น้ำมันทาตัวก่อนลงน้ำ

  40. Schistosoma incognitum Schistosoma spindale

More Related