1 / 64

ความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยเคมีที่คลาดเคลื่อน

ความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยเคมีที่คลาดเคลื่อน. รศ.ดร.สุมิตรา ภู่วโรดม ภาควิชาปฐพีวิทยา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง โทร 02-3264101. ความจริงเกี่ยวกับธาตุอาหารและการดูดใช้ธาตุอาหารของพืช. ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช. 16 (17) ธาตุ แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ

Download Presentation

ความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยเคมีที่คลาดเคลื่อน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยเคมีที่คลาดเคลื่อนความเข้าใจเกี่ยวกับปุ๋ยเคมีที่คลาดเคลื่อน รศ.ดร.สุมิตรา ภู่วโรดม ภาควิชาปฐพีวิทยา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง โทร 02-3264101

  2. ความจริงเกี่ยวกับธาตุอาหารและการดูดใช้ธาตุอาหารของพืชความจริงเกี่ยวกับธาตุอาหารและการดูดใช้ธาตุอาหารของพืช

  3. ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช 16 (17) ธาตุ แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่ได้มาจากน้ำและอากาศ • คาร์บอน (C) • ไฮโดรเจน (H) • ออกซิเจน (O)

  4. 2. กลุ่มที่ได้มาจากดิน – 14 ธาตุ ธาตุที่ต้องการน้อย (จุลธาตุ) • เหล็ก (Fe) • แมงกานีส (Mn) • สังกะสี (Zn) • ทองแดง (Cu) • โบรอน (B) • โมลิบดินัม (Mo) • คลอรีน (Cl) • นิกเกิล (Ni) ธาตุที่ต้องการมาก • ไนโตรเจน (N) • ฟอสฟอรัส (P) • โพแทสเซียม (K) • แคลเซียม (Ca) • แมกนีเซียม (Mg) • กำมะถัน (S)

  5. ทำไมจึงจัดว่าธาตุใดเป็นธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช ? 1. ถ้าพืชไม่ได้รับธาตุอาหารนั้น พืชจะไม่สามารถเจริญเติบโตเป็นไปตามปกติจนครบวงจรชีวิต (life cycle) ของพืชได้

  6. 2. เมื่อพืชได้รับธาตุอาหารนั้นไม่เพียงพอ พืชจะแสดงอาการผิดปกติออกมาให้เห็น และเป็นอาการเฉพาะสำหรับธาตุนั้นๆ

  7. L I M I T I N G FACTOR L A W O F T H E พืชต้องได้รับธาตุอาหารครบทุกธุาตและสมดุล

  8. การดูดใช้ธาตุอาหารของพืชการดูดใช้ธาตุอาหารของพืช

  9. พืชดูดใช้อาหารทั้งหมดในรูปไอออน (ion) เท่านั้น อาจเป็นไอออนบวก (cation)หรือไอออนลบ (anion)ไม่ว่าจะใส่ปุ๋ยในรูปอินทรีย์หรือปุ๋ยเคมีก็ตาม

  10. รูปของธาตุอาหารที่พืชนำไปใช้ได้รูปของธาตุอาหารที่พืชนำไปใช้ได้ ธาตุรูปที่พืชนำไปใช้ ธาตุ รูปที่พืชนำไปใช้ ไนโตรเจน (N) NH4+ , NO3- เหล็ก (Fe)Fe+2 ฟอสฟอรัส (P)H2PO4-,HPO4-2 แมงกานีส (Mn)Mn+2 สังกะสี (Zn)Zn+2 โพแทสเซียม (K) K+ ทองแดง (Cu)Cu+2 แคลเซียม (Ca) Ca+2 โบรอน (B)BO3-3 (H3BO3) แมกนีเซียม(Mg)Mg+2 กำมะถัน (S) SO4-2 โมลิบดินัม(Mo)MoO4-2 คลอรีน (Cl)Cl-

  11. การดูดใช้ธาตุอาหารของพืชการดูดใช้ธาตุอาหารของพืช H+ H+ Ca ++ รากขนอ่อน NO3- HCO3- การดูดใช้ธาตุอาหารเป็นขบวนการแลกเปลี่ยนไอออน

  12. การดูดใช้ธาตุอาหารของพืชแบบมีพาหะนำไอออนต้องใช้พลังงานการดูดใช้ธาตุอาหารของพืชแบบมีพาหะนำไอออนต้องใช้พลังงาน ช่องภายนอก ช่องภายใน • NO3- การดูดแบบไม่ใช้พลังงาน NO3- NO3- K+ พาหะนำไอออน (Carrier ion) Free Space เยื่อหุ้มเซลล์

  13. ไม่ว่าจะใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยเคมีก็ตามไม่ว่าจะใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยเคมีก็ตาม รูปของธาตุที่พืชจะนำไปใช้ได้จะเหมือนกัน ปุ๋ยอินทรีย์NH4+ NO3- พืชนำไปใช้ ปุ๋ยยูเรีย ปุ๋ย 21-0-0

  14. การสลายตัวของอินทรียวัตถุ (ซากพืชซากสัตว์ต่าง ๆ) จะปลดปล่อยธาตุอาหารต่าง ๆ ออกมาอยู่ในรูปที่พืชนำไปใช้ได้ N, P, K, Ca, Mg, Fe, Mn, Zn, Cu, Mo, B ฯ ปริมาณมาก-น้อยขึ้นกับแหล่งของอินทรียวัตถุ อินทรียวัตถุ

  15. ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการผลิตแบบอินทรีย์และเคมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการผลิตแบบอินทรีย์และเคมี การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินจะใช้สารเคมี 100% ทั้ง 13 (14) ธาตุมาจากสารเคมีทั้งหมด คนส่วนมากเรียก ผักที่ได้เรียกว่า “ผักอนามัย ??”

  16. ผลผลิตเกษตรที่มาจากการใส่ ปุ๋ยเคมี ไม่ใช่สารพิษ เพราะพืชดูดธาตุอาหารไปใช้ในรูปไอออนเหมือนกัน ไม่ว่าเราจะใส่ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์ก็ตาม

  17. ปุ๋ยคืออะไร ปุ๋ยคือสารอินทรีย์ (organic) หรือ สารอนินทรีย์ (inorganic) ซึ่งอาจเกิดชึ้นโดยธรรมชาติ หรือทำขึ้นมาก็ได้ เพื่อใช้เป็นธาตุอาหารแก่พืช

  18. ปุ๋ยเคมี : ปุ๋ยที่สังเคราะห์ขึ้นมาโดยวิธีทางเคมี หรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติแต่ค่อนข้างบริสุทธิ์ ปุ๋ยอินทรีย์ : ปุ๋ยที่มาจากสิ่งที่มีชีวิต : ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก มูลสัตว์ต่าง ๆ น้ำหมักชีวภาพต่าง ๆ ปุ๋ยชีวภาพ : จุลินทรีย์ต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดปุ๋ย หรือช่วยละลายปุ๋ย พวกที่ตรึงไนโตรเจนจากอากาศ (ไรโซเบียม) หรือไมโคไรซา (ช่วยดูดธาตุฟอสฟอรัส)

  19. ข้อกล่าวหาที่ได้ยินเสมอ !! การเกษตรสมัยใหม่ก่อให้เกิดปัญหาทางการเกษตรมากดังนี้ • ความอุดมสมบูรณ์ลดลง2. ต้องใช้ปุ๋ยเคมีในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นทุกปีจึงจะได้รับผลผลิตเท่าเดิม

  20. ความจริง !!! การเกษตรทุกระบบ ถ้ามีการนำผลผลิตออกจากพื้นที่ จะทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลงทั้งนั้น เพราะมีธาตุอาหารติดไปกับผลผลิต ผลผลิตยิ่งสูงยิ่งสูญเสียธาตุอาหารมาก ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง

  21. ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ คือ ป่าเป็นระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง มีพืชขึ้นหนาแน่น แต่นำผลผลิตออกไปน้อย เมื่อแผ้วถางป่า อินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ เมื่อมีการไถพรวนจะมีขนาดเล็กลง และสัมผัสกับอากาศมากขึ้น จึงสลายตัวอย่างรวดเร็ว พืชดูดไปใช้ไม่ทัน บางส่วนถูกน้ำชะล้างไป ดินที่เคยอุดมสมบูรณ์ก็ลดความสมบูรณ์ลงทั้ง ๆ ที่ไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมี

  22. ปัญหาของการผลิตโดยใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวปัญหาของการผลิตโดยใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียว • อินทรียวัตถุลดลง ทำให้ดินแน่นทึบ การอุ้มน้ำ และดูดยึดธาตุอาหารเกิดได้ไม่ดี • ดินเป็นกรดเพิ่มขึ้น (ขึ้นกับชนิดของปุ๋ยที่ใช้) แก้ไขปัญหาข้างต้นได้ไหม ? คำตอบคือ “ได้”

  23. ในระบบการเกษตรที่ใช้ปุ๋ยเคมี ไม่เคยมีการปฏิเสธการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การปลูกพืชคลุมดิน การไถกลบเศษพืช การใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักต่าง ๆ มีผลทำให้ดินมีโครงสร้างดีขึ้น และใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีจะให้ผลดีที่สุด

  24. ปัญหาในการทำเกษตรอินทรีย์1. ผลผลิตจะไม่ออกทั้งปี แต่ออกตามฤดูกาล หรือไม่ออก บางปี ถ้าผลผลิตปีที่แล้วมาก ปีนี้อาจไม่ออกผล 2. ราคาผลผลิตจะสูงกว่า เพราะแม้จะใช้ปัจจัยในการผลิต ลดลงแต่ต้องใช้แรงงานในการดูแลและเอาใจใส่

  25. ผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ต้องขายได้ราคาแพงกว่าผลผลิตจาการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เนื่องจาก • ค่าแรงงานสูงกว่า • ผลผลิตต่ำกว่า

  26. การผลิตแบบอินทรีย์ ถ้าไม่ใช้สาร อนินทรีย์เลย จะไม่สามารถทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ได้ตามต้องการ

  27. สารอนินทรีย์ (สารเคมี) ที่อนุญาติให้ใช้ในการผลิตในระบบอินทรีย์ หินและแร่ธาตุ ได้แก่- หินบด - หินฟอสเฟต- หินปูนบด(ไม่เผาไฟ)- ยิบซั่ม- แคลเซียม- ซิลิเกต - แมกนีเซียมซัลเฟต- แร่ดินเหนียว- แร่เฟลด์สปาร์- แร่เพอร์ไลท์- ซีโอไลท์- เบนโทไนท์- หินโพแทส

  28. แคลเซียมจากสาหร่ายทะเล และ สาหร่ายทะเล- เปลือกหอย- เถ้าถ่าน- เปลือกไข่บด- กระดูกป่น และ เลือดแห้ง- เกลือสินเธาว์- โบแร็กซ์- กำมะถัน- ธาตุอาหารเสริม (โบรอน ทองแดง เหล็ก • แมงกานีส โมลิบดินัม และสังกะสี)

  29. สรุป • การผลผิตโดยใช้ปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยอินทรีย์ผลผลิตที่ได้ปลอดภัยเหมือนกัน • ปุ๋ยเคมีเป็นธาตุอาหารพืช ไม่ใช่สารพิษ

  30. ปุ๋ยเคมีมีราคาแพงจริงหรือ ??

  31. โดยทั่วไป ราคาต่อหน่วยของปุ๋ยที่มาจากปุ๋ยเคมีจะถูกที่สุด • ปุ๋ยสูตรยิ่งสูง ราคาต่อหน่วยจะถูก เช่น ยูเรีย มี 45-46% N (ราคา 720 บาท) แอมโมเนียมซัลเฟต 21 % N(ราคา 720 บาท)

  32. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ (ถูกกว่า ??) • ใช้น้ำหมักชีวภาพ (แทนปุ๋ยเคมี ??) ปุ๋ยอินทรีย์มีธาตุอาหารน้อย ต้องใช้ในปริมาณมากเพื่อให้ได้ธาตุอาหารเท่ากัน

  33. ธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ทำจากฟางข้าวธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ทำจากฟางข้าว

  34. ปริมาณธาตุอาหารในปุ๋ยชนิดต่าง ๆ กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร 2540

  35. ธาตุอาหารในน้ำหมักต่าง

  36. ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง :เป็นปุ๋ยที่ได้จากการนำวัสดุอินทรีย์หรืออนินทรีย์ธรรมชาติทางการเกษตรที่มีธาตุอาหารสูงมาผ่านการหมักจนสลายตัวสมบูรณ์ หรือนำมาผสมกับวัสดุอินทรีย์หรืออนินทรีย์ธรรมชาติที่มีธาตุอาหารสูง เช่นกระดูกป่น มูลค้างคาว หรือปุ๋ยหินฟอสเฟต

  37. ปริมาณธาตุอาหารในของวัตถุดิบที่มีธาตุอาหารหลักสูงปริมาณธาตุอาหารในของวัตถุดิบที่มีธาตุอาหารหลักสูง วารสารอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 24 ธันวาคม 2551

  38. ปริมาณธาตุอาหารในของเหลือทางการเกษตรปริมาณธาตุอาหารในของเหลือทางการเกษตร หนังสือปฐพีวิทยาเบื้องต้น

  39. การทำปุ๋ยอินทรีย์สูตรคุณภาพสูง 3-4%N, 5-9%P2O5, 1-2% K2O รวมเป็นเนื้อปุ๋ย 3+5+1 = 9หน่วย หรือ 4+9+2 =15 หน่วย หมักส่วนผสมกับกากน้ำตาล 26-30 ลิตร + สารเร่ง

  40. การทำปุ๋ยอินทรีย์สูตรคุณภาพสูง 3-4%N, 5-9%P2O5, 1-2% K2O รวมเป็นเนื้อปุ๋ย 3+5+1 = 9หน่วย หรือ 4+9+2 =15 หน่วย ฟอสฟอรัสส่วนใหญ่ได้มาจากหินฟอสเฟตซึ่งราคาถูก แต่ไม่ละลายทันที

  41. การทำปุ๋ยอินทรีย์สูตร 3-4%N, 5-9%P2O5, 1-2% K2O รวมเป็นเนื้อปุ๋ย 3+5+1 = 9หน่วย หรือ 4+9+2 =15 หน่วย ฟอสฟอรัสส่วนใหญ่ได้มาจากหินฟอสเฟต ละลายเร็ว 3% อีก 12-14% ละลายช้า ๆ ปุ๋ย 1 หน่วย คิดเป็นเงิน 56.3-93.8 บาท 844/15 = 56.3 บาท หรือ 844/9 = 93.8 บาท

  42. ราคาปุ๋ยเคมี เดือนพฤษภาคม 2552

  43. ถ้าจะผลิตปุ๋ยสูตรเดียวกันโดยใช้ปุ๋ยเคมี และใช้หินฟอสเฟตเหมือนปุ๋ยสูตรอินทรีย์ ในการทำปุ๋ยอินทรีย์สูตรคุณภาพสูง 3-4%N, 5-9%P2O5, 1-2% K2O คิดเป็นราคาต่อหน่วย = 618/15 = 41.2บาทต่อกิโลกรัม

  44. ถ้าเราใช้ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 25 กก. จะให้เนื้อปุ๋ยเท่ากับ 4.5-11.5-0 คิดเป็นเงิน 1,650/2 = 825 บาท ต้องการโพแทสเซียมเท่ากับ 2% K2O ใช้สูตร 0-0-60 จำนวน 3.4 กก. เป็นเงิน 193 บาท ได้ปุ๋ย สูตร 4.5-11.5-2 = 18 หน่วย เป็นเงินรวม 825+193 = 1018 บาท ราคาต่อหน่วยปุ๋ยเท่ากับ 1018/ 18 = 56.6 บาท ฟอสฟอรัสที่ได้จากปุ๋ยนี้ละลายเร็วกว่าหินฟอสเฟตและ ราคาไม่แพง เมื่อเทียบกับปุ๋ยอินทรีย์

  45. สรุปได้ว่าปุ๋ยเคมีไม่ได้แพงกว่า แต่การใช้ปุ๋ยเคมีไม่ได้อินทรียวัตถุ ซึ่งอินทรียวัตถุจะช่วยให้สมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น และให้ธาตุอาหารที่ต้องการน้อย ดังนั้น การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์จะดีกว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์อย่างเดียวหรือเคมีอย่างเดียว

  46. ใช้ปุ๋ยถูกวิธี มีกำไร ใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

  47. การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพ • ปรับปรุงดินให้ธาตุอาหารละลายออกมามากที่สุด • ใส่เฉพาะธาตุที่ต้องการ • ใส่ในปริมาณที่เหมาะสม • เลือกปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของดิน

  48. สิ่งที่ต้องการในการตัดสินใจสิ่งที่ต้องการในการตัดสินใจ • ค่าวิเคราะห์ดิน (นำดินมาวิเคราะห์) • ค่าวิเคราะห์พืช (ในไม้ผลสำคัญมาก)

  49. L I M I T I N G FACTOR L A W O F T H E พืชต้องได้รับธาตุอาหารครบทุกธุาตและสมดุล

More Related