810 likes | 1.2k Views
อาหารเพื่อสุขภาพ “สารเจือปนในอาหาร”. ภก.ดร.พีรยศ ภมรศิลปธรรม ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ส่วนสนามจันทร์) จ.นครปฐม. วันอังคารที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๒ เวลา ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. อาหารเพื่อสุขภาพ “สารเจือปนในอาหาร”. ภก.ดร.พีรยศ ภมรศิลปธรรม
E N D
อาหารเพื่อสุขภาพ“สารเจือปนในอาหาร”อาหารเพื่อสุขภาพ“สารเจือปนในอาหาร” ภก.ดร.พีรยศ ภมรศิลปธรรม ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ส่วนสนามจันทร์) จ.นครปฐม วันอังคารที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๒ เวลา ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น.
อาหารเพื่อสุขภาพ“สารเจือปนในอาหาร”อาหารเพื่อสุขภาพ“สารเจือปนในอาหาร” ภก.ดร.พีรยศ ภมรศิลปธรรม ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ส่วนสนามจันทร์) จ.นครปฐม วันอังคารที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๒ เวลา ๑๕.๐๐-๑๕.๕๐ น.
สารเจือปนในอาหาร Food additives สารปนเปื้อนในอาหาร Food contaminants อาหาร
สารเจือปนในอาหาร เป็นวัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหาร หรือเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การแต่งกลิ่นรส การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่งซึ่งมีผลต่อคุณภาพหรือมาตรฐานหรือลักษณะของอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร ฉบับที่ 281 พ.ศ. 2547
วัตถุเจือปนอาหาร คือ อะไร??? “ วัตถุเจือปนอาหาร “ หมายถึง สารใด ๆ ซึ่งปกติมิได้ใช้เป็นอาหารหรือเป็นส่วนประกอบหลักของอาหาร อาจมีคุณค่าทางโภชนาการ หรือไม่ก็ได้ เป็นสารที่ตั้งใจเติมลงในอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต การเตรียมวัตถุดิบ และ การแปรรูป การบรรจุ การขนส่ง การเก็บรักษาอาหาร และ มีผลหรืออาจมีผลทางตรงหรือทางอ้อม ทำให้สารนั้นหรือผลิตผลพลอยได้ของสารนั้นกลายเป็นส่วนประกอบของอาหารนั้น หรือ มีผลต่อคุณลักษณะของอาหารนั้น แต่ไม่รวมถึง สารปนเปื้อน หรือ สารที่เติมลงไปเพื่อปรับปรุงคุณค่าทางอาหารของอาหาร โดยที่การใชัวัตถุเจือปนอาหารต้องมิได้มีเจตนาหลอกลวงผู้บริโภค หรือปิดบังการใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพไม่ดี หรือการผลิตที่มีการสุขาภิบาลไม่ถูกต้องและต้องไม่ทำให้คุณค่าทางอาหารลดลงด้วย คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ สาขาวัตถุเจือปนอาหารและสารปนเปื้อน ( Codex Committee on Food Additives and Contaminants ; CCFAC , 1972 ) และ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
สารเจือปนในอาหาร Food additives สารปนเปื้อนในอาหาร Food contaminants อาหาร
ทำไมจึงต้องใช้วัตถุเจือปนอาหารทำไมจึงต้องใช้วัตถุเจือปนอาหาร การเก็บถนอมอาหารไว้บริโภคในยามขาดแคลน หรือบริโภคนอกฤดูกาล ประกอบกับวิถีชีวิตอันเร่งรีบในสังคมเมือง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอาหาร ทำให้มีการผลิตอาหารสำเร็จรูป กึ่งสำเร็จรูป อาหารพร้อมบริโภค การใช้วัตถุเจือปนอาหารก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ผลิตอาหารได้ตามความต้องการ
วัตถุประสงค์ในการใช้สารเจือปนอาหารมีหลายประการ ได้แก่ • เพื่อเก็บถนอมหรือยืดอายุการเก็บของอาหารไว้ ตัวอย่างเช่นในระยะที่มีผลผลิตทางการเกษตรมากเกินไปในฤดู โดยเฉพาะประเทศไทยมีอุณหภูมิและความชื้นค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นสภาวะเร่งการเสียของอาหาร เนื่องจากปฏิกิริยาทางเคมีและจุลินทรีย์ จึงจำเป็นต้องใช้วัตถุเจือปนอาหารเพื่อป้องกันการเสื่อมคุณภาพของอาหาร • เพื่อปรุงแต่งลักษณะสี กลิ่น รส ให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ • เพื่อช่วยในกระบวนการผลิต เช่น การใช้วัตถุป้องกันการเกิดฟองที่มากเกินไปในกระบวนการผลิต น้ำมันพืช น้ำเชื่อมเข้มข้น เป็นต้น • เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใหม่ ๆ ขึ้นมา ทำให้มีอาหารหลากหลายชนิด
สารเจือปนในอาหาร Food additives สารปนเปื้อนในอาหาร Food contaminants อาหาร
http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/ntf/DirtyFood3Attach.htmlhttp://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/ntf/DirtyFood3Attach.html
สารเจือปนในอาหาร (Food additives) • วัตถุกันเสีย • สารช่วยในกระบวนการผลิต • สารช่วยแต่งสี กลิ่น รส และลักษณะที่ดี • สารเพิ่มความคงตัวของอาหาร
วัตถุกันเสีย หมายถึง สารที่เติมลงในอาหารเพื่อป้องกันการเสีย บูดเน่าของอาหาร สารนี้จะไปควบคุมการเจริญเติบโต หรือทำลายจุลินทรีย์ ที่เป็นสาเหตุของการเสื่อมคุณภาพของอาหาร sodium benzoate
วัตถุกันเสีย (1) วัตถุกันเสียที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ กรดและเกลือของกรดต่างๆ เช่น กรดน้ำส้ม กรดเบนโซอิค กรดซอร์บิค กรดโพรพิออนิค เช่น ในน้ำสลัด น้ำผลไม้ น้ำซี่อิ๊ว น้ำอัดลม sodium benzoate ที่อนุญาตให้ใส่ได้ในอาหารเพื่อการถนอมอาหารคือไม่เกินร้อยละ 0.1 ของน้ำหนักอาหาร
วัตถุกันเสีย (2) สารประกอบไนไตรท์ สารนี้มักเติมลงในอาหารเนื้อสัตว์เพื่อให้เนื้อสัตว์มีสีชมพู / แดง และเพื่อชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ Clostridiumbotulinum ซึ่งสามารถผลิตสารพิษ botulinum toxin ที่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต วารสารฉลาดซื้อ เดือนกุมภาพันธ์ 51 สุ่มตัวอย่างมา 12 ยี่ห้อ ให้ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ตรวจ พบว่าส่วน ใหญ่ผ่านเกณฑ์ แต่มี อยู่ 2 ยี่ห้อ มีปริมาณไนเตรทสูงถึง 1,259.81 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ซึ่งให้มีไนเตรทได้ไม่เกิน 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และมีสารไนไตรท์นั้น ไม่พบที่เกินเกณฑ์ 125 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในทุกผลิตภัณฑ์
เกลือไนเตรทและเกลือไนไตรท์เกลือไนเตรทและเกลือไนไตรท์ • ดินประสิว • อาหารกระป๋อง แหนม กุนเชียง ผักดอง ฯลฯ • ป้องกันการเติบโตของเชื้อ Clostridium botulinum • ไนเตรทให้ใช้ไม่เกิน 500 mg/อาหาร 1 kg • ไนไตรท์ให้ใช้ไม่เกิน 125 mg/อาหาร 1 kg • carcinogen (Nitrosamine), Hog dog headache, methemoglobinemia
อาหารที่มักจะมีวัตถุเจือปนของ ไนโตรซามีน (Nitrosamine) อาหารที่มักพบว่าใส่สารประกอบ ไนเตรดและไนไตรท์ ได้แก่ เนื้อเค็ม เนื้อแดดเดียว ปลาแดดเดียว ไส้กรอก หมูแฮม เบคอน
วัตถุกันเสีย (3) เกลือซัลไฟท์ และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สารนี้เมื่อรวมตัวกับน้ำจะเปลี่ยนเป็นกรดซัลฟูรัส ซึ่งมีฤทธิ์ในการทำลายหรือชะงักการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้ป้องกันการเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในอาหารพวกผัก ผลไม้แห้ง น้ำหวานต่าง ๆ ไวน์ วุ้นเส้นแห้ง เส้นก๋วยเตี๋ยวแห้ง เส้นหมี่แห้ง ผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง และ ผลไม้บรรจุกระป๋อง
2. สารช่วยในกระบวนการผลิต
2.1 Anticaking compound • อาหารที่ดูดความชื้น เช่น น้ำตาล เกลือ ผงฟู • สารกลุ่มซิลิเกต สารเคมีที่ใช้ ได้แก่ แคลเซียมซิลิเกต แมกนีเซียมสเตียเรท แมกนีเซียมไตรซิลิเกต ไตรแคลเซียมโมโนฟอสเฟต • ปลอดภัยสูง • ใส่มากเกินไปทำให้อาหารเสียรสชาติ • อาหารที่ใช้วัตถุเจือปนกลุ่มนี้ ได้แก่ ครีมเทียมผง กาแฟผง เครื่องดื่มผง น้ำตาลทรายชนิดผงละเอียด เจลาตินผง หัวหอมผง กระเทียมผง ซอสผง แป้งเค้กสำเร็จรูป ผงฟู
2.2 Bleaching agent • ต้องการให้อาหารมีสีขาว • โซเดียมไดออกไซด์ • น้ำตาลทราย ใช้ไม่เกิน 40 มก/กก อาหาร • วุ้นเส้น หมี่แห้ง ใช้ไม่เกิน 500 มก/กก อาหาร • อ่อนเพลีย เหน็บชา มีอาการหอบหืด อักเสบผื่นแดงบริเวณทางเดินอาหาร อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันต่ำ • ปัจจุบัน โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(Sodium hydrosulfite) ถูกห้ามใช้
2.3 Emulsifiers • อาหาร: เนย น้ำสลัด เค้ก • สารจากธรรมชาติ :ไข่แดง เลซิทิน ไลโปโปรตีน • สารจากการสังเคราะห์ : กรดไขมัน ซอร์บิแทน • ไม่มีอันตรายร้ายแรง
สารเจือปนในอาหาร (Food additives) • วัตถุกันเสีย • สารช่วยในกระบวนการผลิต • สารช่วยแต่งสี กลิ่น รส และลักษณะที่ดี • สารเพิ่มความคงตัวของอาหาร
3. สารช่วยแต่ง สี กลิ่น รส และ ลักษณะที่ดีของอาหาร
สารเพิ่มความเป็นกรด (Acidulants) • อาหาร: น้ำผลไม้ แยมผลไม้ • สารที่ใช้: Citric acid, Malic acid, Fumalic acid, lactic acid, acetic acid • ระคายเคืองกระเพาะอาหาร รสชาติอาหารเปลี่ยน กรดทาร์ทาริก จะให้รสองุ่นและรสมะขาม หรือ กรดมาลิก จะให้รสแอปเปิ้ล เป็นต้น
Aspatame Stevioside Xylitol Sorbitol ข้อดี หวานกว่าน้ำตาล ไม่ให้พลังงาน หรือ ให้พลังงานต่ำ เหมาะสำหรับคนที่ต้องการลดน้ำหนัก หรือคนไข้เบาหวาน สารเพิ่มความหวาน (Artificial sweeteners) ในปี ค.ศ. 1879 นายคอนสแสตนติน ฟาห์ลเบอร์ก (Constantine Fahlberg)-Saccharin
สารเพิ่มความหวาน (Artificial sweeteners) 1.Aspartame • Aspatic + Phenylalanine • หวานกว่าน้ำตาลทราย 180 เท่า • หวานลดลงหากใส่ขณะปรุงอาหารที่ใช้ความร้อน • ไม่ควรใช้คนที่เป็นโรค phenylketouria (โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม) : ทำให้เกิดอาการสมองเสื่อม ในปี ค.ศ. 1965 นายเจมส์ สแกตเตอร์ (James Schlatter) -Aspartame
สารเพิ่มความหวาน (Artificial sweeteners) 2.Stevioside • สกัดจากต้นหญ้าหวาน • หวานกว่าน้ำตาลทราย 280 – 300 เท่า • ไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย • ไม่ถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรีย (bacteria) • ไม่เกิดสีน้ำตาลเมื่อผ่านความร้อนสูงๆ
สารเพิ่มความหวาน (Artificial sweeteners) 3.Xylitol • ให้ความหวานและพลังงานเท่ากับน้ำตาล • ทำให้เกิดฟันผุได้น้อยกว่าน้ำตาล • รับประทานได้ 30-60g/day โดยไม่เกิดอาการข้างเคียงใดๆ
สารเพิ่มความหวาน (Artificial sweeteners) 4.Sorbitol • ให้ความหวานและพลังงานเท่ากับน้ำตาล • มีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อนๆ • นิยมใส่ในเครื่องดื่ม หรือไอศรีม หรือหมากฝรั่ง • รับประทานมากๆ เกิดอาการปวดท้อง อาจจะทำให้เกิดท้องเสีย โดยเฉพาะถ้าได้รับ >20g/day
Cyclamate สารแต่งรสหวานที่ห้ามใช้ Saccharin ขัณฑสกร Cyclamic & cyclamate salt • ให้ความหวาน >น้ำตาล 30 เท่า • ห้ามใช้เด็ดขาด : มะเร็งในกระเพาะปัสสาวะ และพิษต่อตัวอ่อน
saccharin • หวานกว่าน้ำตาล 550 เท่า แต่มีรสขม • อาจก่อให้เกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ • ห้ามใช้ในน้ำอัดลม น้ำปลา และน้ำหวานชนิดเข้มข้น • อาการแพ้: คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน อาจจะชักได้
Monosodium glutamate • รสคล้ายต้มเนื้อ จึงใส่เพื่อเพิ่มรสและบดบังกลิ่น • ADI: ไม่เกิน 120 mg/kg/day • Chinese restaurant syndrome
Chinese restaurant syndrome • ร้อนวูบวาบ • ชาบริเวณคอ หน้า • มึนงง นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน • เกิดภายในเวลา 10 – 20 นาทีหลังจากกินอาหารและอาการจะหายไปใน 1- 2 ชม. • เกิดเมื่อรับประทานมากกว่า 5 กรัม หรือ รับประทานบ่อยๆ เป็นเวลานาน
การตรวจหาผงชูรสปลอม • โดยใช้กระดาษขมิ้น:สีแดง ม่วงเข้ม น้ำเงิน • โดยการเผาไหม้: ส่วนหนึ่งไหม้เป็นถ่าน ส่วนหนึ่งหลอมเป็นสีขาว • สังเกตด้วยตาเปล่า ผงชูรสปลอม: บอแรกซ์ ถ้ามีสารบอแรกซ์ กระดาษขมิ้นสีเหลือง จะเปลี่ยนเป็นสีแดง เอามาเผา จะมีกลิ่นคล้ายๆ เนื้อไหม้ เป็นกลิ่นของกรดอะมิโน ว่าผงชูรสที่เป็นของแท้จะมีลักษณะเหมือนกระดูก ส่วนบอแรกซ์จะเป็นผลึกอย่างอื่น