290 likes | 478 Views
= RT h ln (V 2 / V 1 ) - RT c ln (V 2 / V 1 ) RT h ln (V 2 / V 1 ). = T h - T c = q h + q c T h q h. ประสิทธิภาพ = RT h ln (V 2 / V 1 ) + RT c ln (V 1 / V 2 )
E N D
= RTh ln (V2 / V1) - RTc ln (V2 / V1 ) RTh ln(V2 / V1) = Th - Tc = qh + qc Th qh ประสิทธิภาพ = RTh ln (V2 / V1) + RTc ln (V1 / V2 ) RTh ln (V2 /V1) ประสิทธิภาพ = 1 ? เมื่อ Tc = O Kelvin ?
A C qh = -Th qc Tc P V
P E F B D A G H C V และ ABCD EFGH Carnot Cycle “ย่อย”
พิจารณา Carnot Cycle “ย่อย” : ABCD และ EFGH งานเนื่องมาจากการขยายตัวแบบ Adiabatic (BC , FG) มีค่าเท่ากับ งานการอัดตัว (DA , HE) แต่มีเครื่องหมายตรงข้าม (W2 = -W4) จะพิจารณางานกรณีของ isothermal
คือ (qh)AB = - (Th)AB (qc)CD (Tc) CD หรือจัดรูป สมการใหม่ เป็น
หรือ เขียนเป็นสมการรวมได้เป็น (สำหรับการพิจารณาจากทุก ๆ Carnot cycles ใน PV - curve)
แสดงว่า เทอม เป็น Exact Differential หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็น State Function P V
ให้ dS = เมื่อ qrev คือ ปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างระบบ กับสิ่งแวดล้อม ในปฏิกิริยาที่ย้อนกลับได้ เมื่อ S = Entropy (transformation, disorder) S เป็นฟังก์ชันที่บอกความไม่เป็นระเบียบของระบบ
DS = 0 สำหรับกระบวนการผันกลับได้ (reversible process) สรุปได้ว่า S เป็นฟังก์ชันสภาวะ ???
การหาค่า DS 1. Adiabatic process(Isolated system) q = O ; dS = O 2. Closed System จาก 1st Law : dU = q + W DU = Dq + DW
สำหรับ reversible process : dU = Dqrev+ DWrev dU = TdS - PdV เป็นสมการที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกฏข้อที่ 1 และกฏข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ สังเกตได้ว่า U = U (S,V)
จาก Dqrev = dU + PdV dS = Dqrev = nCV dT + nRT dV T T TV
Isochoric Isobaric Isothermal
กรณีการเปลี่ยนแปลงสถานะกรณีการเปลี่ยนแปลงสถานะ เกิดขี้นที่อุณหภูมิและความดันคงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ย้อนกลับได้ หรือ dH = TdS DH = TDS
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The third Law of Thermodynamics) สำหรับกระบวนการที่เกิดได้เอง (Spontaneous) และย้อนกลับไม่ได้ (Irreversible Process): DStot > O สำหรับกระบวนการที่ย้อนกลับได้ (reversible process): DStot = O
เมื่อ DStot = DS + DSsurr ระบบ สิ่งแวดล้อม
สรุป : DStot 0 ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ DStot< 0 ปฏิกิริยาไม่เกิด (หรือเกิดในทิศทางย้อนกลับ)
Lewis และ Randall ตั้งกฎข้อที่ 3: กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์ (The third Law of Thermodynamics) จากหลักการที่ว่า เมื่ออุณหภูมิของระบบลดลง ระบบย่อมมีความเป็นระเบียบสูงขึ้น และค่าเอนโทรปีของระบบย่อม ลดลง
“ ที่ O Kelvin เอนโทรปีของสารผลึกบริสุทธิ์ สมบูรณ์แบบ (perfect crystalline substance) มีค่าเป็นศูนย์ ส่วนเอนโทรปีของสารใด ๆ มีค่าเป็นบวกเสมอ “ So = O
gas liquid O K 0 DHmelt DHvap Solid T หรือTm Tf Tb (boiling point) (freezing point) (melting point) = Third Law Entropy ST ไม่ใช่ DS absolute entropy ที่สภาวะมาตรฐาน S0
การหาค่า DS สามารถคำนวณได้โดยตรงจากสมการ
หาได้จากค่า So298 การหาค่า DSo So298 = เอนโทรปีสัมบูรณ์ของสารที่ 298 K จากสมการ a A + b B ฎc C + d D DSo = c (So298, C) + d (So298, D) - a (So298, A) - b (So298, B)
Thermochemical Data All data refer to 298.15 K and 1 bar pressure. Units of DHo and DGo are kJ mol-1; Units of So and Cpare J K -1 mol-1.
CO (g) -110.5 -137.2 197.7 29.1 CO2 (g) -393.5 -394.4 213.7 37.1 CH4 (g) -74.8 -50.7 186.3 35.3 Compound DHo DGo SoCp C(graphite) 0 0 5.7 8.5 C(diamond) 1.9 2.9 2.4 6.1
H2O (l) -285.8 -237.1 69.9 75.3 H2O (g) -241.8 -228.6 188.3 33.6 H2O (s) ?? ?? ?? ?? Compound DHo DGo SoCp Br2 (l) 0 0 152.2 75.7 Br2 (g) 30.9 3.1 245.5 36.0
ให้ DHof = -1273 kJ mol-1 (C6H12O6 , s) Ex สำหรับปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสง 298 K 6CO2(g)+6H2O (l) C6H12O6(s)+6O2(g) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เองหรือไม่ ที่สภาวะมาตรฐาน (ดูค่าเอนโทรปีจากตาราง)
- 6 DHof - 6 DHof (CO2, g) (H2O, l) วิธีทำ + 6 DHof DHosys = DHof (O2, g) (C6H12O6 ,s) = (-1273) + 6(O) - 6(-393) - 6 (-285) = 2795 kJ; DHoSurr = - 2795 kJ
DSosurr = DHsurr = -2795x103 = -9379 J K-1 T 298 DSosys = So - 6So - 6So + 6So (CO2, g) (H2O, l) (O2, g) (C6H12O6 ,S) = - 262 JK-1 = 212 + 6(205) - 6(+214) - 6(70) DSotot = DSo+ DSosurr = (-262) + (-9379) = -9674 JK-1 DSotot < O ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเองไม่ได้ที่สภาวะมาตรฐาน