1 / 54

การวางแผนโครงการ

Chapter 3. การวางแผนโครงการ. โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com. การวางแผนโครงการ ( Project Planning Phase ). ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ กำหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การยื่นข้อเสนอรายงานข้อมูลผู้บริหารเพื่อยืนยันโครงการ การวางแผนและควบคุมโครงการ.

Download Presentation

การวางแผนโครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 3 การวางแผนโครงการ โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com

  2. การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase) • ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ • กำหนดปัญหา • การศึกษาความเป็นไปได้ • การยื่นข้อเสนอรายงานข้อมูลผู้บริหารเพื่อยืนยันโครงการ • การวางแผนและควบคุมโครงการ

  3. กำหนดปัญหา (Problem Definition) • การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน • การทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ เป็นไปด้วยความล่าช้า • มีข้อผิดพลาดสูง • การทำงานไม่ถูกต้อง • การทำงานไม่สมบูรณ์ • งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ

  4. กำหนดปัญหา (Problem Definition)ต่อ • การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน • ด้านพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน • พนักงานมีอัตราการเจ็บป่วยสูง • พนักงานไม่พึงพอใจในงานที่ดำเนินการอยู่ • ความกระตือรือร้นในการทำงานมีต่ำ • อัตราการลาออกของพนักงานสูง

  5. กำหนดปัญหา (Problem Definition)ต่อ • การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน • ด้านการปรับปรุงแก้ไขเพื่อลดปัญญาระบบ • เพิ่มความเร็วของกระบวนการทำงาน • เพิ่มความกระชับของกระบวนการ • รวบกระบวนการ • ลดข้อผิดพลาดจากการ ป้อนข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของ Output • ปรับปรุงการทำงาน สภาพแวดล้อม • เพิ่มคุณประโยชน์

  6. การเขียนแผนภูมิก้างปลา (Case-and-Effect Diagram) สาเหตุที่ 2 สาเหตุที่ 1 สาเหตุย่อย ปัญหา สาเหตุที่3

  7. ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในบริษัท • ระบบข้อมูลของลูกค้า ยังมีการจัดการที่ไม่ดีพอ เนื่องจากมีข้อมูลซ้ำซ้อน • การขอดูรายการรถที่ปล่อยเช่าไปหรือรถที่คงเหลืออยู่และพร้อมปล่อยเช่า ในแต่ละวันจะมีการตรวจสอบหลายครั้ง ทำให้พนักงานจำเป็นต้องรวบรวมเอกสารเพื่อทำการตรวจสอบซ้ำอยู่ตลอด • การคำนวณค่าเช่ารถ รวมถึงค่าปรับที่เกิดจากการส่งคืนรถเกิดกำหนด และการหักส่วนลด ซึ่งพนักงานคำนวณผิด

  8. ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในบริษัท (ต่อ) • เอกสารสัญญาบางครั้งสูญหาย ไม่สามารถสอบประวัติการเช่ารถของลูกค้าได้ • ลูกค้าบางรายเป็นลูกค้าที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เนื่องจากมีประวัติโจรกรรมรถ ซึ่งไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ครบถ้วน เนื่องจาก ต้องใช้เวลา และประวัติลูกค้าจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ โดยเฉพาะลูกค้าเปลี่ยนชื่อ ก็ยิ่งทำให้ค้นหายุ่งยากมากขึ้น • รายงานบางชนิด ใช้เวลามากเกิดความจำเป็นในการจัดทำมักมีข้อผิดพลาดอยู่บ่อย ๆ

  9. ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • แนวทางในการพัฒนาระบบของบริษัท • ระบบเดิมไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ทำให้ไม่พึงพอใจต่อการดำเนินการในปัจจุบัน • ระบบเดิมมีองค์ประกอบของเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมหรือค่อนข้างล้าสมัย • ระบบเดิมไม่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต • ระบบเดิมมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานค่อนข้างยุ่งยาก ซ้ำซ้อนและไม่เป็นระบบ • ระบบเดิมมีการดำเนินการที่ผิดพลาดเรื่องรายงานมีความน่าเชื่อถือต่ำ

  10. การเขียนแผนภูมิก้างปลาบริษัท BM เอกสารและรายงานไม่มีประสิทธิภาพ การทำงานไม่เป็นระบบ มีขั้นตอนยุ่งยากและซ้ำซ้อน นำเสนอรายงานค่อนข้างช้า เอกสารรายงานไม่สามารถ ตอบสนองการใช้งานได้จริง ระบบงานไม่สนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต เทคโนโลยีล้าสมัย รายงานมีข้อผิดพลาดบ่อย ระบบศูนย์บริการรถเช่ามีประสิทธิภาพต่ำ ใช้เวลาในการดำเนินงานยาวนาน ค้นหาข้อมูลล่าช้า ขาดการประสานงานที่ดีในระบบ การบริการไม่ดี

  11. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้แบ่งเป็น 3 ประเด็น • ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค • ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ • ความเป็นไปได้ ด้านการปฏิบัติ

  12. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค • การจัดหาอุปกรณ์ใหม่เพื่อพัฒนาระบบ • อุปกรณ์ที่จัดหามาเพื่อพัฒนาระบบใหม่ที่สามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้ • ความเข้ากันได้ของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ • ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ • ระบบสามารถรองรับการขยายตัวทางธุรกิจในอนาคต

  13. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ • ต้นทุนการพัฒนาระบบ • ต้นทุนการปฏิบัติงาน • ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ • ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้

  14. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)

  15. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)

  16. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)

  17. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน • ผู้ใช้งานต้องเข้าใจถึงความจำเป็นต่อการปรับเปลี่ยนระบบใหม่ • ต้องจัดเตรียมอะไรบ้าง กับการฝึกอบรมใช้งานระบบใหม่กับพนักงาน • ระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นส่งผลต่อการลดจำนวนพนักงานหรือไม่ • ขั้นตอนกาปฏิบัติงานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ • ผลกระทบจะส่งผลต่อลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ • ระยะเวลาในการพัฒนาระบบที่ยาวนาน

  18. การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน • หรืออาจจะพิจารณาเพิ่มคือ • ด้านการผลิต • ด้านความแตกต่าง • ด้านการจัดการ

  19. การวางแผนและการควบคุมกิจกรรม (Activity Planning and Control) • การวางแผน (Planning) คือการกำหนดกิจกรรมและการ • มอบหมายงาน เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วง โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนด • การกำหนดเวลาโครงการ สามารถจัดทำขึ้นด้ายการใช้เทคนิค แกนต์ชาร์ต • แกนต์ชาร์ต (Gantt Charts) คือ เทคนิคในการวางแผนโครงการ • อย่างหนึ่งซึ่งเป็นอธิบายการทำงานของโครงการ ซึ่งมีการกำหนดระยะเวลาของ • การทำงานในแผนภูมิ ซึ่งทำให้เข้าใจได้ง่าย

  20. การใช้แกนต์ชาร์ตในการวางแผนโครงการการใช้แกนต์ชาร์ตในการวางแผนโครงการ Activity • ดำเนินการสัมภาษณ์ • จัดทำแบบสอบถาม • อ่านรายงานของบริษัท • วิเคราะห์การไหลของข้อมูล • จัดทำโปรโตไทบ์ • สังเกตการณ์ด้านผลกระทบ • กำหนดต้นทุนและผลตอบแทน • จัดทำข้อเสนอของโครงการ • นำข้อเสนอยื่นผู้บริหารเพื่ออนุมัติ week

  21. การบริหารโครงการ(Project Management) • โครงการ คือ กิจกรรมใด ๆ ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ • มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน • มีกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด • การดำเนินงานจะอยู่ภายใต้ข้อจำกัดของ • งบประมาณ • กำหนดเวลาของงานต่างๆ • คุณภาพของงานตามกำหนด • ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโครงการใด ๆ จะมีลักษณะเป็น “ชั่วคราว” หรือ • เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น อาจเป็นวัน เดือน หรือปี แล้วแต่ความ ซับซ้อนของโครงการ

  22. การบริหารโครงการ(Project Management) • การบริหารโครงการ คือ • การจัดการ การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้การดำเนินโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ • ทรัพยากร หมายถึง บุคลากร รวมถึงความเชี่ยวชาญและความสามารถที่มีอยู่ ความร่วมมือของทีมงาน เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ตลอดจนข้อมูล ระบบงาน เทคนิค เงินทุนและเวลา

  23. การบริหารโครงการ(Project Management) คุณภาพ (Scope) ต้นทุน (Cost) เวลา (Schedule) โครงการต้องดำเนินไปตามวัตถุประสงค์โดยได้ตามเป้าหมายทั้ง 3 ด้าน คือต้นทุน เวลา และคุณภาพ

  24. การบริหารโครงการ(Project Management) • สาเหตุที่ทำให้โครงการซอฟต์แวร์ประสบความล้มเหลว มีดังต่อไปนี้ • ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ • ข้อกำหนดหรือความต้องการที่รวบรวมไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ • ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างผู้ใช้กับนักวิเคราะห์ระบบ เช่น ขาดความร่วมมือ การไม่เข้าใจในรายละเอียดของระบบงานเดิม • ขาดการควบคุมที่ดี เช่น ไม่มีการกำหนดหน้าที่การทำงาน ขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน • ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนมากขึ้น และความต้องการก็เปลี่ยนแปลงบ่อยในขณะกำลังพัฒนา ถ้าไม่มีมาตรการในการรองรับการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อระบบ

  25. การบริหารโครงการ(Project Management) • สาเหตุที่ทำให้โครงการซอฟต์แวร์ประสบความล้มเหลว มีดังต่อไปนี้ • ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ เนื่องจากระบบไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามความต้องการใช้งานอย่างแท้จริง • ระบบทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ทำให้ไม่น่าเชื่อถือ • ประสบการณ์ของนักวิเคราะห์ระบบมีน้อย • ผู้บริหารกำหนดนโยบายไม่ชัดเจนที่นำมาซึ่งการใช้งานของระบบ

  26. แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) เป็นแผนภูมิชนิดหนึ่งที่มีการใช้งานมาช้านาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานของโครงการ ใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานให้ชัดเจน และไม่สามารถบอกได้ว่าการปฏิบัติงานที่ล้าข้ามีผลต่อโครงการ สรุป ถ้าเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีระบบงานที่กระจายเป็นระบบย่อย ๆ และมีจำนวนมาก มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ซับซ้อน จึงมักนำเทคนิคของเพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม (CPM)มาประยุกต์การใช้งานมากกว่า

  27. งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์)งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์) A - 3 B - 5 C B 3 D A C 4 E D 8 F C 2 G F 4 H F 2 I B 5 J E G H 3 ตัวอย่างตารางการดำเนินการของเพิร์ต(Pert)และ ซีพีเอ็ม (CPM)

  28. แผนภูมิแบบแกนต์ (Gantt) ABCDEFGHI J งานที่ดำเนินการเสร็จแล้ว งานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เวลา(สัปดาห์) 5 10 13 15 20 23 25

  29. PERT&CPM การบริหารโครงการด้วยการวางแผน ควบคุมโดยใช้เทคนิค เพิร์ตPERT (Program Evaluation and Review Technique ) และซีพีเอ็มCPM ( CriticalPathMethod) เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้ในการบริหารโครงการ ที่มีจุดเริ่มต้นของโครงการ จนกระทั้งปิดโครงการ มีส่วนงานย่อยต่างๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

  30. PERT&CPM • หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็มCPM จะมีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน • เพิร์ตPERT จะเน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ • ซีพีเอ็มCPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ • ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT เพียงคำเดียวอาจหมายถึงการนำเทคนิคของCPM มาใช้ร่วมด้วย

  31. PERT&CPM • หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็มCPM จะมีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน • เพิร์ตPERT จะเน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ • ซีพีเอ็มCPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ • ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT เพียงคำเดียวอาจหมายถึงการนำเทคนิคของCPM มาใช้ร่วมด้วย

  32. PERT&CPM PERT • เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ CPM • เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ

  33. PERT&CPM PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวม ของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ • วางแผนโครงการ ( Project Planning ) โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ว่าควรเริ่มเมื่อใด เสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด

  34. PERT&CPM • ควบคุมโครงการ ( ProjectControl) สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด • บริหารทรัพยากร ( Resoures ) สามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่นเงินทุน บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประโยชน์เต็มที่ • บริหารโครงการ ( ProjectManagement ) งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่ง เพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานแล้วเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น

  35. สัญลักษณ์ต่างๆ ของ PERT คือจุดเชื่อม node ที่แสดงถึงเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มแรกโครงการจนจบโครงการ เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรม หรืองานที่ทำ หัวลูกศรคือจุดเสร็จสิ้นของกิจกรรมหรืองานนั้น A 1 2 เส้นประที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรมหรืองานสมมุติ () เป็นกิจกรรมที่ไม่มีตัวตนในโครงการ แต่จำเป็นต้องใส่ไว้เพื่อให้ถูกต้องกับความเป็นจริง 3 4

  36. งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B A C A D B,C ตัวอย่าง PERT 3 B A 1 2 5 D C 4 6

  37. ตัวอย่าง PERT C งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B - C A D B E C,D A 4 2 1 6 D E B 3 5 7

  38. ตัวอย่าง PERT ให้นักศึกษาเขียนโครงข่ายงานตามตัวอย่างด้านล่างตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์) A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2

  39. สายงานวิกฤติ (Critical Paths) สายงานวิกฤต คือ เป็นสายงานที่มีระยะเวลาในการทำโครงการรวมยาวนานที่สุด

  40. การเร่งโครงการ CPM สายงานวิกฤต คือ เป็นสายงานที่มีระยะเวลาในการทำโครงการรวมยาวนานที่สุด หากงานหรือกิจกรรมในสายงานวิกฤตเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด หมายถึง โครงการจะดำเนินการล่าช้ากว่าแผนที่กำหนดไว้ จึงต้องมีการควบคุมโครงการให้เสร็จตามกำหนดระยะเวลาซึ่งหลีกเลี่ยงการเร่งโครงการ ทำให้ต้องมีการสูญเสียค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในโครงการ

  41. งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท)ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 การเร่งโครงการ CPM ตารางที่ 2

  42. เฉลยตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์)A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2 สายงานที่ 1 1-2-3-7=2+3+3=8 สายงานที่ 2 1-4-7 = 1+3=4 สายงานที่ 3 1-5-6-7 = 1+2+2 =5 D,3 5 A,2 G,3 2 B,1 E,3 1 3 7 F,2 C,1 4 H,2 6

  43. เฉลยตารางที่ 1 สายงานวิกฤต(Critical Paths)จะพิจารณาจากสายงานที่มีเวลานาน หรือยาวที่สุด ซึ่งในที่นี้คือสายงาน 1-2-3-7 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 วัน นั้นหมายถึง การดำเนินงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอนจะแล้วเสร็จภายใน 8 วัน โดยในโครงการอาจมีสายงานวิกฤตมากกว่า 1 สายงานก็เป็นได้

  44. งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 เฉลยตารางที่ 2

  45. C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,13 E,8 B,8 5 6 I,14 F,10 7 เฉลยตารางที่ 2 สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=31 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 8+8+13=29 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 8+10+14=32

  46. C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 1 4 8 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,10 7 สายงาน1-3-7-8 ประกอบด้วยกิจกรรม B,F,I ปรากฏว่ากิจกรรม B มีค่าใช้จ่ายต่อวันต่ำ ดังนั้นจึงทำการเร่งกิจกรรม B เหลือ 6 วัน สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+13=27 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30

  47. ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม B ก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H โดยค่าใช้จ่ายของกิจกรรม H ต่ำสุด คือ 100 บาท ดังนั้นจึงเลือกกิจกรรม H ด้วยการเร่งเวลาจาก 13 วัน เป็น 12 วัน

  48. C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B และH สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+12=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30

  49. ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม Hก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H และสายงาน 1-3-7-8ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม B F I โดยเส้นทางที่หนึ่งกิจกรรม D จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุดคือ 125 บาท และเร่งได้อีก 2 วัน ส่วนเส้นทางที่สอง กิจกรรม F จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุดคือ 100 บาท เร่งได้อีก 3 วัน โดยจะทำการเร่งกิจกรรมDและ F ลง 2 วัน ซึ่งกิจกรรม F สามารถเร่งเร็วขึ้น 3 วันก็ตาม แต่ก็ไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จเร็วขึ้น ซึ่งหากเร่งกิจกรรม F เป็น 3 วัน ก็จะมีผลทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

  50. C,9 2 3 G,13 A,7 D,9 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B H D และF สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+9+12=28 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+8+14=28

More Related