1 / 15

ห้องเรียนคณิตศาสตร์

ห้องเรียนคณิตศาสตร์. ยากเหมือนกันนี่หว่า. By.. คุณครูต ติพร เล่ห์กล กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานีเขต 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3. สถิติ. การวัดค่ากลางของข้อมูล. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นระเบียบวิธีการ

quang
Download Presentation

ห้องเรียนคณิตศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ห้องเรียนคณิตศาสตร์ ยากเหมือนกันนี่หว่า By.. คุณครูตติพร เล่ห์กล กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานีเขต 1

  2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถิติ

  3. การวัดค่ากลางของข้อมูลการวัดค่ากลางของข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นระเบียบวิธีการ ทางสถิติในสถิติเชิงพรรณนาแบ่งเป็น 3 วิธีคือ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) 2. มัธยฐาน (Median) 3. ฐานนิยม (Mode) 

  4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ใช้สัญลักษณ์ คือมีวิธีการดังนี้ หาค่าเฉลี่ยโดยใช้สูตร ผลรวมของข้อมูลทุกตัว จำนวนข้อมูล ตัวอย่างที่ 1. เพื่อนๆกลุ่มหนึ่งมี 5 คน ไปรับทานอาหารในร้านแห่งหนึ่ง แต่ละคนออกเงิน ดังนี้   18 32 41 29   30 เฉลี่ยแล้วพวกเขาออกเงินคนละเท่าใด วิธีคิด หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

  5. มัธยฐาน( Median ) ค่ามัธยฐานเป็นค่ากลางอีกชนิดหนึ่งที่น่าสนใจและหาค่าได้อย่างรวดเร็ว การหาค่ามัธยฐาน นักเรียนต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือมาก ไปหาน้อยก่อน ค่าของข้อมูลค่าใดที่อยู่ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมดค่านั้นคือ ค่ามัธยฐาน ตัวอย่างที่ 1จากข้อมูลความสูงของคน 5 คน 150 167175 170 158 จะพบว่าค่ามัธยฐาน   คือ 167 วิธีคิด นักเรียนต้องเรียงคะแนนจากน้อยไปมาก150 158 167170 175 ตัวอย่างที่ 2ในการสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 10 คน ปรากฏคะแนนดังนี้ 12 19202428 25 16 8 21 14 วิธีคิด นักเรียนต้องเรียงคะแนนจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้ 8 , 12 , 14 , 16 , 19 , 20 , 21 , 24 , 25 , 28 มัธยฐาน  = = 19.5

  6. ฐานนิยม( Mode ) ค่าฐานนิยม เป็นค่าตัวกลางของข้อมูล ซึ่งพิจารณาจากข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดนั้น ตัวอย่างที่ 1 ในการสอบวิชาสุขศึกษาของนักเรียนกลุ่มหนึ่งได้คะแนนดังนี้ 1718191720222417 จงหาค่าฐานนิยมของข้อมูล จากการพิจารณาข้อมูล จะพบว่าคะแนนที่มีความถี่สูงสุดคือ 17 ดังนั้น ฐานนิยมของข้อมูลมีค่าเป็น 17

  7. ฐานนิยม (ต่อ) ข้อสังเกต ค่าฐานนิยม ตอบได้มากที่สุดได้  2 ค่า   ในกรณีที่มีความถี่เท่ากัน   2  ข้อมูล   เช่น 1212      14       15       18 18      20     22      25     30 ฐานนิยมของข้อมูลมี2 ค่าคือ12และ18 [ถ้ามีความถี่เท่ากันมากกว่า 2 ค่า ถือว่าข้อมูลชุดนั้นไม่มีฐานนิยม]

  8. เนื้อหาการหาค่ากลางของข้อมูลมีเท่านี้เนื้อหาการหาค่ากลางของข้อมูลมีเท่านี้ งั้นเรามาลองทำแบบตรวจสอบความก้าวหน้ากันหน่อยนะจ๊ะ

  9. แบบตรวจสอบความก้าวหน้า 1 ในเนื้อหาที่เรียนผ่านมา นักเรียนสามารถหาค่ากลางของข้อมูลได้ทั้งหมด 5 วิธี ใช่หรือไม่ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง

  10. Timer แบบตรวจสอบความก้าวหน้า 2 จากข้อมูลที่กำหนดให้ค่ากลางใดมีค่าน้อยที่สุด 4 14 16 20 16 mean median mode

  11. แบบตรวจสอบความก้าวหน้า 3 จงหาว่าข้อมูลและค่ากลางในข้อใดสัมพันธ์กัน 2 9 3 4 6 8 3 Mean = 5 8 2 4 6 6 2 7 9 Mode = 3 Median = 6 6 3 3 9 5 4

  12. แบบตรวจสอบความก้าวหน้า 4 จากข้อมูลที่กำหนดให้ จงเรียงลำดับ Mean Median Modeจากค่าน้อยไปหาค่ามาก 4 7 5 4 10 8 4 <Keyboard will appear here based on shape and location of this rectangle.>

  13. แบบตรวจสอบความก้าวหน้า 5 สวัสดีปีใหม่แย้ว..ว ใกล้ปีใหม่แล้วนะจ๊ะ ... เรามาช่วยกันหาค่ากลางของข้อมูลลงกล่องของขวัญกันหน่อยนะ 16 14 20 13 12 17 13 mode median mean 15 14 13

  14. The End ... ยากกว่านี้มีอีกมั๊ย

  15. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>

More Related