2.41k likes | 6.01k Views
การจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา. โสภณ จุโลทก. ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้. Curriculum Bike. ผู้อำนวยการโรงเรียนและครู ไม่อาจ “ เพิกเฉย ”( Ignore) ต่อการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาได้
E N D
การจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา โสภณ จุโลทก ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้
ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้อำนวยการโรงเรียนและครู ไม่อาจ “ เพิกเฉย ”( Ignore) ต่อการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาได้ เพราะนั่นคืองานตาม“มาตรฐานตำแหน่ง ”
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ต้องใช้ทั้งศาสตร์ และ ศิลป์ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ หลักสูตรอิงมาตรฐานและ หลักสูตร ฯ 2551 บทเรียน/ประสบการณ์ การทำ - ใช้หลักสูตรในอดีต
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ไม่ใช่การทำ “ ขนมถาด ” ที่ตัดเป็นชิ้น ๆ อย่างแยกส่วนกัน แต่เป็นการ “ คนลาบ ” เพื่อให้ทุกส่วนผสม กลมกลืนและมีความลงตัวที่สะท้อนตัวตนของ โรงเรียน
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาไม่ใช่ “ของเล่น” ที่สักแต่ว่าทำให้เสร็จ ๆ มีไว้โชว์ แต่ไม่ได้ใช้ หลักสูตรไม่มีคุณภาพ
อย่าทำหลักสูตรที่ไม่มีคุณภาพอย่าทำหลักสูตรที่ไม่มีคุณภาพ มาใช้สอนนักเรียนเป็นอันขาด เพราะนั่นคือการทำลายชาติ โดยตรง
“ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ส่วนกลางเป็นเพียง ผู้ให้กรอบแนวคิด และ แนวปฏิบัติเท่านั้น สถานศึกษา สามารถปรับยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมไม่จำเป็นต้อง ทำตามขั้นตอนที่ตายตัว ” คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มา : นิตยสาร SCHOOL IN FOCUS ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2552 หน้า 13
สมการหลักสูตร A = X + Y + Z เมื่อ A คือ หลักสูตรสถานศึกษา X คือ หลักสูตรแกนกลางฯ 2551 Y คือ ความต้องการของท้องถิ่น/กรอบหลักสูตร ระดับท้องถิ่น Z คือ ความต้องการของสถานศึกษา / ส่วนที่ สถานศึกษาเพิ่มเติม
A = X………………… X A = X + Y…………… ? A = X + Z………..….. /
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา • การดำเนินการระดับสถานศึกษา • การดำเนินการระดับชั้นเรียน
1. การดำเนินการระดับสถานศึกษา : โดยคณะกรรมการระดับสถานศึกษา • ผู้บริหาร • คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ • ครู (ทุกคน) • ผู้ปกครอง ชุมชน • อื่น ๆ เพื่อจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและแนวปฏิบัติต่างๆ เช่น ระเบียบการวัดประเมินผล แบบบันทึกต่าง ๆ
ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาขั้นตอนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน • คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ฯลฯ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ • หลักสูตรฯ 2551 (สพฐ.) • กรอบหลักสูตร/สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (สพท.) • ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของโรงเรียน • ความต้องการของโรงเรียน • ความต้องการของผู้เรียน ฯลฯ
3. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา : มีองค์ประกอบ ดังนี้ • วิสัยทัศน์ • สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรฯ 51 • คุณลักษณะอันพึงประสงค์ • โครงสร้างหลักสูตรฯ • เวลาเรียน • รายวิชา พฐ. / พต. • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • คำอธิบายรายวิชา • เกณฑ์การวัดประเมินผลและจบหลักสูตร หมายเหตุ ต้องทำระเบียบการวัดประเมินผลเพื่อใช้ควบคู่กับหลักสูตรด้วย
4. คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ • หลักสูตรสถานศึกษา • ระเบียบการวัดประเมินผล 5. ใช้หลักสูตรสถานศึกษา : โดยครู • กำหนดโครงร่างรายวิชา • ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ • จัดทำแผนการเรียนรู้ • จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ติดตามผลการใช้หลักสูตร
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเหลืองแดงสามัคคี พุทธศักราช 2553ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพันทะมิด เขต 1
โครงสร้าง/องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรสถานศึกษาระดับโรงเรียน/ระดับสถานศึกษาโครงสร้าง/องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรสถานศึกษาระดับโรงเรียน/ระดับสถานศึกษา • ส่วนนำ • โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา • คำอธิบายรายวิชา • เกณฑ์การวัดและประเมินผลและ จบหลักสูตร
1. ส่วนนำ - วิสัยทัศน์ - สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตาม หลักสูตรแกนกลาง - คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา2.โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาพื้นฐาน (พร้อมเวลาเรียน/หน่วยกิต) รายวิชาเพิ่มเติม (พร้อมเวลาเรียน/หน่วยกิต) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (พร้อมเวลาเรียน/หน่วยกิต) เวลาเรียนทั้งสิ้น
3.คำอธิบายรายวิชา - รหัสวิชา - ชื่อรายวิชา - ประเภทรายวิชา (พื้นฐานหรือเพิ่มเติม) - กลุ่มสาระการเรียนรู้ - ระดับชั้น - คำอธิบายสาระสำคัญ
คำอธิบายรายวิชา • ต้องเขียนทั้งรายวิชาพื้นฐานและ • รายวิชาเพิ่มเติม • เขียนเป็นความเรียง • - ต้องมีตัวชี้วัดสำหรับรายวิชาพื้นฐาน • - ต้องมีผลการเรียนรู้สำหรับรายวิชา • เพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาประกอบด้วยคำอธิบายรายวิชาประกอบด้วย -รหัสวิชา (จะรู้ว่าเป็นรายวิชาพื้นฐานหรือเพิ่มเติม ตรงนี้แหละ) - ชื่อรายวิชา - กลุ่มสาระการเรียนรู้ - ระดับชั้น - เวลา/หน่วยกิต - รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา
ประโยชน์ของคำอธิบายรายวิชาประโยชน์ของคำอธิบายรายวิชา • ใช้ประโยชน์ในการสื่อสารกับครู ผู้เกี่ยวข้อง และคนภายนอก • ใช้วิเคราะห์เพื่อจัดทำโครงสร้างรายวิชา-หน่วยการเรียนรู้ • ใช้ประโยชน์ในการเทียบโอน
การกำหนดรายวิชา สถานศึกษาจะต้องนำองค์ความรู้และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแต่ละ “กลุ่มสาระการเรียนรู้” มาจัดทำ “รายวิชา” (Course) พร้อมกำหนดรหัสวิชา พร้อมตั้งชื่อรายวิชาให้สะท้อนสิ่งที่จะสอน/จัดการเรียนรู้
ประเภทรายวิชา 1.รายวิชาพื้นฐาน : เป็นรายวิชาที่เปิดสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ในทุกโรงเรียนทั่วประเทศ) ต้องเรียนรู้
การจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษาการจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษา • ระดับประถมศึกษา • จำนวนรายวิชาพื้นฐานที่เปิดสอนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละปี กำหนดได้ตามความเหมาะสมตามความเหมาะสมตามกรอบโครงสร้างเวลาที่กำหนด
การจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษาการจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษา • ระดับมัธยมศึกษา • จำนวนรายวิชาพื้นฐานที่เปิดสอนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละภาค ใช้ระบบหน่วยกิต (1 หน่วยกิต = 40 ชั่วโมง) โดยกำหนดให้ 1 รายวิชามีค่าน้ำหนักไม่น้อยกว่า 0.5 หน่วยกิต
โปรดฟังซ้ำอีกครั้ง...............โปรดฟังซ้ำอีกครั้ง............... “ในรายวิชาพื้นฐานต้องมีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่นำมาจากหลักสูตรแกนกลาง”
2.รายวิชาเพิ่มเติม : เป็นรายวิชาที่พัฒนาผู้เรียนนอกเหนือจากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง สถานศึกษาสามารถเปิดสอนรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หรือความต้องการของท้องถิ่นโดยกำหนด “ผลการเรียนรู้” เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
การจัดรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษาการจัดรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษา • ตามความพร้อม จุดเน้นและเกณฑ์การจบหลักสูตรของโรงเรียน • ต้องอยู่ภายใต้โครงสร้างเวลาเรียนที่กำหนด • ชื่อรายวิชาเพิ่มเติมสามารถตั้งได้ตามความเหมาะสม
สำหรับในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3 เนื่องจากหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 มุ่งเน้นการพัฒนานักเรียนให้มีทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ดังนั้นรายวิชาเพิ่มเติมที่เปิดสอนจึงควรมุ่งพัฒนาทักษะดังกล่าว
โปรดฟังซ้ำอีกครั้ง...............โปรดฟังซ้ำอีกครั้ง............... “ ในรายวิชาเพิ่มเติมต้องมี ผลการเรียนรู้ที่โรงเรียนกำหนดขึ้นเอง ”
การจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษาการจัดรายวิชาพื้นฐานของสถานศึกษา หลักที่ หลักที่ หลักที่ หลักที่ หลักที่ หลักที่ 1 2 4 5 3 6 ลำดับของรายวิชา 01-99 ปีในระดับ กศ. 0 1 2 3 4 5 6 กสร. ท ค ว ส พ ศ ง ระดับ กศ. 1 2 3 ประเภทรายวิชา 1 2
4.เกณฑ์การวัดประเมินผลและจบหลักสูตร4.เกณฑ์การวัดประเมินผลและจบหลักสูตร • ข้อกำหนดของสถานศึกษาเกี่ยวกับ • เกณฑ์การวัดประเมินผล • เกณฑ์การจบหลักสูตร • (ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับเกณฑ์การจบหลักสูตรในหลักสูตรแกนกลาง)
หลักสูตรสถานศึกษา ระดับโรงเรียน ระดับชั้นเรียน
ระดับโรงเรียน ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา เกณฑ์การวัดประเมินผลฯ ระดับชั้นเรียน โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสถานศึกษา VS
? สงสัย เราตอบ ท่านถาม
การดำเนินการระดับชั้นเรียนการดำเนินการระดับชั้นเรียน • โดยครูผู้สอนทุกคน • จัดทำโครงสร้างรายวิชา • ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ • วางแผนและออกแบบการเรียนรู้
โครงสร้างรายวิชา • วิเคราะห์มาจากคำอธิบายรายวิชา • เป็นการกำหนด Scope และ Sequence • ทำให้มองเห็นว่ามีกี่หน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยอะไรบ้าง • มีตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตัวไหนบ้าง • ใช้เวลาเท่าไร • กำหนดสัดส่วนคะแนนไว้อย่างไร