1 / 42

PRIME MINISTER OF THAILAND

PRIME MINISTER OF THAILAND. นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย. หน้าหลัก. ภาคผนวก. VEDO-MV. พบนายกรัฐมนตรี. สรุบย่อ. ผู้จัดทำ. < หน้าหลัก. นายกคนที่. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. ภาคผนวก.

Download Presentation

PRIME MINISTER OF THAILAND

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PRIME MINISTEROF THAILAND นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย

  2. หน้าหลัก ภาคผนวก VEDO-MV พบนายกรัฐมนตรี สรุบย่อ ผู้จัดทำ

  3. < หน้าหลัก นายกคนที่... 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

  4. ภาคผนวก < หน้าหลัก กบฎร.ศ130 ประวัติรัฐประหาร นายกที่มีชิวิตอยู่

  5. < หน้าหลัก เหตุการณ์กบฎร.ศ 130 (กบฎเหล็ง ศรีจันทร์) • เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2455 (ร.ศ. 130) ก่อนการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 สองทศวรรษในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อนายทหารและปัญญาชนกลุ่มหนึ่ง วางแผนปฏิบัติการโดยหมายให้พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญให้ และเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตย แต่แผนการแตกเสียก่อน จึงมีการจับกุมผู้คิดก่อการหลายคนไว้ได้ 91 คน คณะตุลาการศาลทหารมีการพิจารณาตัดสินลงโทษให้จำคุกและประหารชีวิต โดยให้ประหารชีวิตหัวหน้าผู้ก่อการจำนวน 3 คน คือ ร.อ.เหล็ง ศรีจันทร์ ร.ท.จรูญ ณ บางช้าง และ ร.ต.เจือ ศิลาอาสน์ ลงโทษจำคุกตลอดชีวิต 20 คน จำคุกยี่สิบปี 32 คน จำคุกสิบห้าปี 6 คน จำคุกสิบสองปี 30 คน แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัย และได้มีพระบรมราชโองการพระราชทานอภัยโทษ ละเว้นโทษประหารชีวิต ด้วยทรงเห็นว่า ทรงไม่มีจิตพยาบาทต่อผู้คิดประทุษร้ายแก่พระองค์คณะผู้ก่อการได้รวมตัวกันเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2455 ประกอบด้วยผู้ร่วมคณะเริ่มแรกจำนวน 7 คน คือ* ร.อ.ขุนทวยหาญพิทักษ์ (หมอเหล็ง ศรีจันทร์) เป็นหัวหน้า* ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ จาก กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์* ร.ต.จรูญ ษตะเมษ จากกองปืนกล รักษาพระองค์* ร.ต.เนตร์ พูนวิวัฒน์ จาก กองปืนกล รักษาพระองค์* ร.ต.ปลั่ง บูรณโชติ จาก กองปืนกล รักษาพระองค์* ร.ต.หม่อมราชวงศ์แช่ รัชนิกร จาก โรงเรียนนายสิบ* ร.ต.เขียน อุทัยกุล จาก โรงเรียนนายสิบ

  6. เหตุการณ์กบฎร.ศ 130 (กบฎเหล็ง ศรีจันทร์) คณะผู้ก่อการวางแผนจะก่อการในวันที่ 1 เมษายน ซึ่งเป็นวันพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา และวันขึ้นปีใหม่ ผู้ที่จับฉลากว่าต้องเป็นคนลงมือลอบปลงพระชนม์ คือ ร.อ.ยุทธ คงอยู่ (หลวงสินาด โยธารักษ์) เกิดเกรงกลัวความผิด จึงนำความไปแจ้งหม่อมเจ้าพันธุ์ประวัติ ผู้บังคับการกรมทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ และพากันนำความไปแจ้ง สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ความทราบไปถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประทับอยู่ที่พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม คณะทั้งหมดจึงถูกจับกุมเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ถูกส่งตัวไปคุมขังที่คุกกองมหันตโทษ ที่สร้างขึ้นใหม่ และได้รับพระราชทานอภัยโทษในพระราชพิธีฉัตรมงคล เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2467 ครบรอบปีที่ 15 ของการครองราชย์ < หน้าหลัก

  7. ธานินทร์กรัยวิเชียร • เปรม ติณสูลานนท์ • อานันท์ ปันยารชุน • สุจินดา คราประยูร • ชวน หลีกภัย • บรรหาร ศิลปอาชา • ชวลิต ยงใจยุทธ • ทักษิณ ชินวัตร • สุรยุทธ์ จุลานนท์ • สมชาย วงศ์สวัสดิ์ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรีที่ยังมีชีวิตอยู่ < หน้าหลัก

  8. ประวัติการ กบฎ ปฏิวัติและการรัฐประหารในประเทศไทย • การทำรัฐประหาร คือการใช้กำลังอำนาจเข้าเปลี่ยนแปลงอำนาจของรัฐ โดยมาก หากรัฐประหารครั้งนั้นสำเร็จ จะเรียกว่า 'ปฏิวัติ' แต่หากไม่สำเร็จ จะเรียกว่า 'กบฏ' < หน้าหลัก

  9. จาก พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2534 มีการก่อรัฐประหารหลายครั้ง ทั้งที่เป็น การปฏิวัติ และเป็น กบฏ มีดังนี้ • พ.ศ. เหตุการณ์ หัวหน้าก่อการ รัฐบาล2475 ปฏิวัติ 24 มิถุนายน พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ2476 รัฐประหาร พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยามโนปกรณ์นิติธาดา2476 กบฎบวรเดช พล.อ.พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดช พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา2478 กบฎนายสิบ ส.อ.สวัสดิ์ มหะหมัด พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา2481 กบฎพระยาสุรเดช พ.อ.พระยาสุรเดช พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา2490 รัฐประหาร พล.ท.ผินชุณหะวัณ พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์2491 กบฎแบ่งแยกดินแดน ส.ส.อีสานกลุ่มหนึ่ง นายควง อภัยวงศ์2491 รัฐประหาร คณะนายทหารบก นายควง อภัยวงศ์2491 กบฏเสนาธิการ พล.ต.สมบูรณ์ ศรานุชิต จอมพล ป. พิบูลสงคราม2492 กบฎวังหลวง นายปรีดี พนมยงค์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม2494 กบฎแมนฮัตตัน น.อ.อานน บุณฑริกธาดา จอมพล ป. พิบูลสงคราม2494 รัฐประหาร จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล ป. พิบูลสงคราม2497 กบฎสันติภาพ นายกุหราบ สายประสิทธิ์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม2500 รัฐประหาร จอมพล สฤษดิ์ธนะรัชต์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม2501 รัฐประหาร จอมพล สฤษดิ์ธนะรัชต์ จอมพล ถนอม กิตติขจร2514 รัฐประหาร จอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพล ถนอม กิตติขจร2516 ปฏิวัติ 14 ตุลาคม ประชาชน จอมพล ถนอม กิตติขจร2519 รัฐประหาร พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช2520 กบฎ 26 มีนาคม พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ นายธานินทร์กรัยวิเชียร2520 รัฐประหาร พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ นายธานินทร์กรัยวิเชียร2524 กบฎ 1 เมษายน พล.อ.สัณห์ จิตรปฏิมา พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์2528 การก่อความไม่สงบ 9 กันยายน พ.อ.มนูญ รูปขจร * พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์2534 รัฐประหาร พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ* คณะบุคคลกลุ่มนี้ อ้างว่า พลเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาทหารสูงสุดเป็นหัวหน้า แต่หัวหน้าก่อการจริงคือ พ.อ. มนูญ รูปขจร < หน้าหลัก

  10. VEDO-MV < หน้าหลัก

  11. รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยรายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย รายนามนายกรัฐมนตรีไทยนับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง24 มิถุนายน 2475 • พระยามโนปกรณ์นิติธาดา(ก้อน หุตะสิงห์) ดำรงตำแหน่งวันที่ 28 มิถุนายน 2475 พ้นตำแหน่งวันที่ 21 มิถุนายน 2476 ด้วยการทำรัฐประหารโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา • พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งวันที่ 21 มิถุนายน 2476 พ้นตำแหน่งวันที่ 16 ธันวาคม 2481 โดยรัฐบาลยุบสภา • จอมพลแปลก พิบูลสงคราม(แปลก ขีตตะสังคะ) ดำรงตำแหน่งครั้งแรกวันที่ 16 ธันวาคม 2481 พ้นตำแหน่งครั้งสุดท้ายวันที่ 16 กันยายน 2500 โดยการทำรัฐประหารนำโดยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ • พันตรีควง อภัยวงศ์ดำรงตำแหน่งวันที่ 1 สิงหาคม 2487 พ้นตำแหน่งวันที่ 8 เมษายน 2491 โดยถูกคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออก • นายทวี บุณยเกตุดำรงตำแหน่งวันที่ 31 สิงหาคม 2488 พ้นตำแหน่งวันที่ 17 กันยายน 2488 เนื่องจากลาออก เพื่อให้ผู้เหมาะสมมาแทน • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชดำรงตำแหน่งครั้งแรกวันที่ 17 กันยายน 2488 และอีกครั้งในต้นปี 2519 ก่อนพ้นตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ด้วยการทำรัฐประหาร นำโดยพล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ • นายปรีดี พนมยงค์(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) ดำรงตำแหน่งวันที่ 24 มีนาคม 2489 พ้นตำแหน่งวันที่ 23 สิงหาคม 2489 โดยการลาออก • พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(หลวง ธำรงนาวาสวัสดิ์) ดำรงตำแหน่งวันที่ 23 สิงหาคม 2489 พ้นตำแหน่งวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 โดยการทำรัฐประหารนำโดยพล.ท.ผินชุณหะวัณ • นายพจน์ สารสินดำรงตำแหน่งวันที่ 21 กันยายน 2500 ตามมติสภาผู้แทนราษฎร และพ้นตำแหน่งวันที่ 1 มกราคม 2501 เพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไป เป็น ครม.ชุดที่ 27 • จอมพลถนอม กิตติขจรดำรงตำแหน่งครั้งแรกวันที่ 1 มกราคม 2501 และอีกครั้งในปลายปี 2506 ก่อนจะพ้นตำแหน่งวันที่ 14 ตุลาคม 2516 หลังการเดินขบวนใหญ่ของนักศึกษาประชาชน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา

  12. จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ดำรงตำแหน่งวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2502 พ้นตำแหน่งวันที่ 8 ธันวาคม 2506 เพราะถึงแก่อสัญกรรม • นายสัญญา ธรรมศักดิ์ดำรงตำแหน่งวันที่ 14 ตุลาคม 2516 พ้นตำแหน่งวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2518 เพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญปี 2517 • พลตรีหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชดำรงตำแหน่งวันที่ 14 มีนาคม 2518 พ้นตำแหน่งวันที่ 20 เมษายน 2519 เพราะยุบสภา • นายธานินทร์กรัยวิเชียรดำรงตำแหน่งวันที่ 8 ตุลาคม 2519 พ้นตำแหน่งวันที่ 20 ตุลาคม 2520 โดยการรัฐประหารนำโดยพล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ • พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ดำรงตำแหน่งวันที่ 11 พฤศจิกายน 2520 พ้นตำแหน่งวันที่ 3 มีนาคม 2523 โดยการลาออกกลางสภา • พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ดำรงตำแหน่งวันที่ 3 มีนาคม 2523 พ้นตำแหน่งวันที่ 4 สิงหาคม 2531 เมื่อยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไป • พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณดำรงตำแหน่งวันที่ 4 สิงหาคม 2531 พ้นตำแหน่งวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 โดยคณะ รสช.ทำรัฐประหาร • นายอานันท์ ปันยารชุนดำรงตำแหน่งวันที่ 2 มีนาคม 2534 พ้นตำแหน่งวันที่ 23 กันยายน 2535 เมื่อยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไป (ดำรงตำแหน่งช่วงสั้นๆ อีกครั้ง ภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ10 มิถุนายน 2535 - 23 กันยายน 2535) • พลเอกสุจินดา คราประยูรดำรงตำแหน่งวันที่ 7 เมษายน 2535 พ้นตำแหน่งวันที่ 10 มิถุนายน 2535 หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ • นายชวน หลีกภัยดำรงตำแหน่งวันที่ 23 กันยายน 2535 และอีกครั้งในปี 2540 พ้นตำแหน่งวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2544 เมื่อยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไป • นายบรรหาร ศิลปอาชาดำรงตำแหน่ง 13 กรกฎาคม 2538 พ้นตำแหน่งวันที่ 25 พฤศจิกายน 2539 เมื่อยุบสภา • พลเอกชวลิต ยงใจยุทธดำรงตำแหน่งวันที่ 25 พฤศจิกายน 2539 พ้นตำแหน่งวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 โดยการลาออก • พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรดำรงตำแหน่งวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 พ้นตำแหน่งวันที่ 19 กันยายน 2549 หลังถูกรัฐประหาร • พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ดำรงตำแหน่งวันที่ 1 ตุลาคม 2549 พ้นตำแหน่งวันที่ 29 มกราคม 2551 เมื่อปรากฎผลการเลือกตั้งทั่วไป • นายสมัคร สุนทรเวชดำรงตำแหน่ง 29 มกราคม 2551 พ้นตำแหน่งวันที่ 9 กันยายน 2551 จากคำวินิจฉัยว่าไม่มีคุณสมบัติดำรงตำแหน่งของศาลรัฐธรรมนูญ • นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ดำรงตำแหน่ง 9 กันยายน 2551 พ้นตำแหน่งวันที่ 2 ธันวาคม 2551 จากคำวินิจฉัยยุบพรรคของศาลรัฐธรรมนูญ (ถูกตัดสิทธิ์และไม่มีคุณสมบัติในฐานะกรรมการบริหารพรรค) • นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่ง 17 ธันวาคม 2551 พ้นตำแหน่ง 5 สิงหาคม 2554 เมื่อยุบสภาและมีการเลือกตั้งใหม่ • น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรดำรงตำแหน่ง 5 สิงหาคม 2554

  13. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) 1 (อดีตกรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 7) < หน้าหลัก

  14. พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) คณะราษฎร(ผู้บัญชาการทหารบก) 2 < หน้าหลัก

  15. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) (26) พรรคเสรีมนังคศิลา คณะราษฎร(ผู้บัญชาการทหารบก) 3 < หน้าหลัก

  16. พันตรี ควง อภัยวงศ์ 4 (11,14) คณะราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ < หน้าหลัก

  17. นายทวี บุณยเกตุ 5 < หน้าหลัก

  18. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 6 (13) ขบวนการเสรีไทย พรรคประชาธิปัตย์ < หน้าหลัก

  19. นายปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) 7 ขบวนการเสรีไทย < หน้าหลัก

  20. พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์) 8 พรรคแนวรัฐธรรมนูญ < หน้าหลัก

  21. นายพจน์ สารสิน 9 < หน้าหลัก

  22. จอมพล ถนอม กิตติขจร (30) (ผู้บัญชาการทหารบก) พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2507) 10 < หน้าหลัก

  23. จอมพล สฤษดิ์ธนะรัชต์ 11 (ผู้บัญชาการทหารบก) < หน้าหลัก

  24. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 12 < หน้าหลัก

  25. พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 13 พรรคกิจสังคม < หน้าหลัก

  26. นายธานินทร์กรัยวิเชียรนายธานินทร์กรัยวิเชียร 14 < หน้าหลัก

  27. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 15 < หน้าหลัก

  28. พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (42) (ผู้บัญชาการทหารบก) พ.ศ. 2523-พ.ศ. 2524 16 < หน้าหลัก

  29. พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ 17 พรรคชาติไทย < หน้าหลัก

  30. นายอานันท์ ปันยารชุน 18 < หน้าหลัก

  31. พลเอก สุจินดา คราประยูร 19 มีชัย ฤชุพันธุ์ (รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน) ไม่นับว่าเป็นคนที่ 20 < หน้าหลัก

  32. นายชวน หลีกภัย 20 พรรคประชาธิปัตย์ < หน้าหลัก

  33. นายบรรหาร ศิลปอาชา 21 พรรคชาติไทย < หน้าหลัก

  34. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 22 พรรคความหวังใหม่ < หน้าหลัก

  35. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร 23 พรรคไทยรักไทย < หน้าหลัก • พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์เคยดำรงตำแหน่งรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร • ระหว่างวันที่5 เมษายนพ.ศ. 2549 – 23 พฤษภาคมพ.ศ. 2549เนื่องจากนายกรัฐมนตรีขอลาราชการเป็นการชั่วคราว

  36. พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 24 < หน้าหลัก

  37. นายสมัครสุนทรเวช 25 พรรคพลังประชาชน < หน้าหลัก

  38. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ 26 พรรคพลังประชาชน ชวรัตน์ ชาญวีรกูล (รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน) < หน้าหลัก

  39. นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ 27 พรรคประชาธิปัตย์ < หน้าหลัก

  40. นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 28 พรรคเพื่อไทย < หน้าหลัก

  41. นายสมบัติ คำลอย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 รุ่นสีเขียว 53 ผู้จัดทำ < หน้าหลัก

  42. ขอบคุณครับ < หน้าหลัก ขอขอบคูณ : สำนักนายกรัฐมนตรีhttp://www.cabinet.thaigov.go.th/pm_his.htm

More Related