380 likes | 538 Views
การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย การให้บริการโรคจิตเวชภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์. ผู้วิจัย. ผู้วิจัยหลัก : นพ.ดร. วิชช์ เกษมทรัพย์ สำนักงานศูนย์เวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
E N D
การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย การให้บริการโรคจิตเวชภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์
ผู้วิจัย • ผู้วิจัยหลัก : นพ.ดร.วิชช์ เกษมทรัพย์ สำนักงานศูนย์เวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีและสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ • ทพ.ดร.วีระศักดิ์ พุทธาศรี สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ • นพ.ชนินทร์ สกุลอิสริยาภรณ์ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ และ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุชลประทาน มศว. • นางกนกรัตน์ แสงอำไพ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุชลประทาน มศว.
ความเป็นมา • ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2544 หมวด 4 ว่าด้วยการรับบริการทางการแพทย์ ซึ่งกำหนดทั้งรายละเอียด “บริการใดที่ครอบคลุม (inclusion lists)” ควบคู่ไปกับ “บริการใดที่ไม่ครอบคลุม (exclusion lists)” เป็นเกณฑ์ในการดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งมีอยู่หลายข้อ เช่น การยกเว้นการให้บริการล้างไต การยกเว้นการให้บริการปลูกถ่ายอวัยวะใหม่ และ ในกรณีของโรคจิตกรณีที่ต้องรับไว้รักษาเป็นผู้ป่วยในเกินกว่า 15 วัน จะไม่ได้รับการเบิกงบประมาณคืน เพราะเป็นบริการที่ปัจจุบันมีงบประมาณจัดสรรให้เป็นการเฉพาะ นั่นคือ อยู่ภายใต้การดูแลของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จึงจัดอยู่ในกลุ่มบริการที่ไม่ครอบคลุม (exclusion list) ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
จากการรับฟังความเห็นทั่วไปตามมาตรา 18 (13) ของ พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ ประจำปี 2550 และ 2551 มีข้อเสนอจากประชาชนผู้รับบริการให้ยกเลิกการจำกัดการคุ้มครองการรักษาโรคจิตเวชเพียง 15 วันแรก เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็นและมีคุณภาพอย่างทั่วถึง โดยเพิ่มสิทธิประโยชน์ใหม่ที่มีความจำเป็น และพัฒนาระบบบริการของสิทธิประโยชน์ที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงเสนอให้มีการศึกษาและจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่อง การให้บริการโรคจิตเวชภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ขอบเขตและความครอบคลุม) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการพิจารณาความเป็นไปได้และแนวทางในการขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์ของผู้ป่วยจิตเวชภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
คำถามหลักในการศึกษา • ระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในประเทศไทยควรมีการจัดการอย่างไรให้เหมาะสม เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยตามความจำเป็นจริงๆ • การจ่ายค่าชดเชยค่าบริการโรคจิตเวชกรณีผู้ป่วยในควรมีการเบิกคืนค่าใช้จ่ายในลักษณะใดจึงเป็นธรรมกับสถานบริการ และ ช่วยให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการได้ตามความจำเป็น • ระบบส่งต่อผู้ป่วยจากสถานบริการทั่วไปไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจังหวัด หรือ โรงพยาบาลศูนย์ หรือ จากโรงพยาบาลลสังกัดกระทรวงต่างๆ ไปสู่โรงพยาบาลจิตเวชควรเป็นอย่างไร • ความสามารถในการให้บริการของสถานบริการจิตเวช รวมถึงกำลังพลด้านสุขภาพในปัจจุบันเป็นอย่างไร เพียงพอหรือไม่ เมื่อเทียบกับจำนวนผู้ป่วยที่มีอยู่ และ ที่คาดว่าจะมีจริง • จะต้องใช้งบประมาณเท่าไรในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างเหมาะสมในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • ประเมินสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคจิตเวชในประเทศไทย • ประเมินสถานการณ์การให้บริการที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน ระยะเวลาในการรักษา และงบประมาณที่ใช้อยู่ในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชโรคจิตเวชในโรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิตและโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ต่างๆในประเทศไทย • ทบทวนวรรณกรรมการให้บริการจิตเวชในต่างประเทศต่างๆ • ประมาณการงบประมาณที่ต้องใช้ถ้ามีการขยายบริการจิตเวชให้เพิ่มมากขึ้น • ศึกษาทิศทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบบริการจิตเวชในประเทศไทย
ประเมินสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคจิตเวชในประเทศไทยประเมินสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคจิตเวชในประเทศไทย • prevalence of Mental health related problem • Mental health report and Thai health report 2009 • World health report • Mental Health atlas • Burden of disease of mental Health related problem • BOD report
จำนวนปีที่สูญเสียเนื่องจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ (Years of Life Lost due to Disability: YLD)
จำนวนปีที่สูญเสียจากการตายก่อนวัยอันควร (Years of Life Lost: YLL) • Suicide 2.1% โดยเป็นอันดับที่ 12 ในผู้ชาย และ 0.9% โดยจัดเป็นอันดับที่ 20 ในผู้หญิง • Homicide and violent 1.7% โดยเป็นอันดับที่ 14 ในผู้ชาย
จำนวนปีสุขภาวะที่ปรับด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ (Disability-Adjusted Life Years: DALYs)
prevalence • WHO: รายงานว่า prevalence ของ mental health problem ประมาณ 20-30% ในผู้ใหญ่ 25-35% ในเด็ก • National survey โดยกรมสุขภาพจิตในปี 2004 พบ 36.5% มีปัญหาสุขภาพจิต • การเข้าถึงบริการทางจิตเวชมีเพียง 6-10% ของผู้ป่วยทั้งหมด
3.5%ของงบประมาณด้านสุขภาพของประเทศไทยถูกใช้ไปในบริการด้านสุขภาพจิต เท่ากับ 1,721 ล้านบาท (2004)
โดย 57% ถูกใช้ไปในโรงพยาบาลเฉพาะทางจิตเวช
ไทยมีบริการเตียงด้าน community-based service 25 แห่งคิดเป็น 4 เตียง / 1 ล้าน คน • ไม่มี mental health community resident
ทบทวนวรรณกรรมการให้บริการจิตเวชในประเทศต่างๆทบทวนวรรณกรรมการให้บริการจิตเวชในประเทศต่างๆ • ออสเตรเลีย,Victoria • นโยบายด้านสุขภาพจิตเป็นนโยบายระดับประเทศในระดับแผนพัฒนา • เป็นต้นแบบของจิตเวชชุมชนที่เป็นระบบ • ต้นแบบของการทำ institutionalization • เนื่องจากมีการเข้าถึงบริการจิตเวชมากที่สุดในโลก ครอบคบลุมบริการจิตเวชมากที่สุด ไม่จำกัดเวลา admit • ใช้ funding ไม่มากเมื่อเทียบกับ GPD • การดูแลด้านสุขภาพจิต ดำเนินการร่วมกับบริการด้านอื่นอย่างเป็นระบบ • มีระบบ project base ให้กลุ่มที่ไม่ใช่บุคคลากรด้านการแพทย์เข้ามามีส่วนช่วยดูแล • ใช้รูปแบบผสมระหว่าง case manager / project base • บูรณการด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การศึกษา • มีองค์กรอิสระที่แข็งแกร่งและก้าวหน้า
ศรีลังกา • มีนโยบายสุขภาพจิตระดับชาติ • มีระบบ traditional health care ร่วมด้วย • มีการทำงานร่วมกับ องค์กรอิสสระเป็นอย่างดี • มีการช่วยเหลือด้านจิตใจรวดเร็วในช่วงที่มีภัยธรรมชาติ • มีการกระจายอำนาจการบริหารระบบบริการสุขภาพจิตร่วมกับระบบริการสุขภาพอื่นๆ • มีการบำบัดในรูปแบบศาสนาร่วมด้วย • ไต้หวัน • นโยบายสุขภาพจิตระดับกระทรวง • มีระบบการจัดเก็บข้อมูลคล้ายคลึงกับประเทศไทย • ความก้าวหน้าด้านสาธารณสุขโยรวมคล้ายกับประเทศไทย • มีระบบการทำงานรวมกับองค์กรศาสนาขนาดใหญ่หลายแห่ง และมรการบูรณาการการดูแลด้านจิตใจร่วมกับการบริการทางการแพทย์ทั่วไป
อังกฤษ • นโยบายสุขภาพจิตระดับชาติผ่าน NHS trust • เป็นต้นแบบระบบริการแบบ สหสาขาวิชาชีพ • เป็นต้นแบบระบบ case manager ในการดูแลโดยใช้ non-health personnel เข้ามาดูแล • คลอบคลุมการให้บริการมาก • ไม่จำกัดเวลาให้บริการ • มีปัญหาด้านต้นทุนสูง • ยังมีปัญหาด้านการจัดสรรบริการให้ตรงตามความต้องการ
ญี่ปุ่น • การเข้าถึงบริการน้อย • LoS นานที่สุดในโลก (~1 ปี) • ขยายโรงพยาบาล เฉพาะทางจิตเวชมากที่สุดในโลก เตียงจิตเวชต่อประชากรมากที่สุดในโลก (550/100000) • เป็นระบบริการที่แพงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก • สหรัฐอเมริกา • เป็นระบบบริการที่แพงมากที่สุดแห่งหนึ่งและมีการเข้าถึงน้อย (8-15%) • ครอบคลุมสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาพจิตน้อย(30% ไม่ ครอบคลุม) • เป็นต้นแบบการบริการโดยไม่ใช้ทีมสหสาขาวิชาชีพ
Effective Model for Mental health in Thailand • ยะลา • เป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรน้อย และ ไม่ค่อยปลอดภัย • การเข้าถึงบริการมาก • มีการพัฒนาด้านจิตเวชชุมชน • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยมาก • มีการการดำเนินการเยี่ยมบ้านได้อย่างสม่ำเสมอ • สถาบันสมเด็จเจ้าพระยา • มีรายการลดอัตตราการ re-admission จากการเยี่ยมบ้าน • แม่แบบด้านการพัฒนาด้านการเยี่ยมบ้านโดยทีมจิตเวชชุมชนที่ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพ • มีการบูรณากันระหว่างหลายหน่วยงาน (กทม+โรงพยาบาลทั่วไป+ โรงพยาบาลกรมสุขภาพจิต+กระทรวงพัฒนาทรัพยากรมนุษย์+โรงเรียน)
รพ. สวนปรุง • Out reach clinic ที่ดำเนินงานมานาน • มีรูปแบบการเตรียม D/C ที่มีประสิทธิภาพ
ประเมินสถานการณ์การให้บริการที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันประเมินสถานการณ์การให้บริการที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน
WHO AIMS • Domain 1: Policy and Legislative Framework • Domain 2: Mental Health Services • Domain 3: Mental Health in Primary Health Care • Domain 4: Human Resources • Domain 5: Public Education and Links with Other SectorsDomain • 6: Monitoring and Research
ขั้นตอนในการดำเนินการศึกษาขั้นตอนในการดำเนินการศึกษา • จัดระดมความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อเสนอระบบบริการจิตเวชที่เหมาะสมกับประเทศไทย 2 ครั้ง • สืบค้นข้อมูลการให้บริการและการรายงานโรคจากกรมสุขภาพจิตและจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • สืบค้นข้อมูลวิชาการจากวารสารต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ • สัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องส่วนต่างๆทั้งผู้ให้บริการ ผู้บริหารโรงพยาบาล ผู้ป่วย และ ญาติผู้ป่วย • วิเคราะห์ข้อมูลและข้อคิดเห็นที่ได้ มาสังเคราะห์เป็นข้อเสนอรูปแบบการพัฒนาบริการจิตเวช
รายงานผลการจัดทำเบื้องต้นรายงานผลการจัดทำเบื้องต้น