200 likes | 460 Views
COMPUTER. คอมพิวเตอร์คืออะไร ?. สิ่งเหล่านี้ด้วยหรือไม่ ?. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคำสั่ง แล้วนำไปประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ. เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว สามารถเก็บข้อมูลจำนวนมากๆ
E N D
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคำสั่ง แล้วนำไปประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งานเหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน • สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว • สามารถเก็บข้อมูลจำนวนมากๆ • สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล • สามารถจัดทำเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคำ
เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน (ต่อ) • การนำมาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย • การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐ • การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้ำของเขื่อน • การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้ำ เพื่อการเกษตร
เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน (ต่อ) • การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจำลองรูปแบบ เช่น จำลองโมเลกุล จำลองรูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน • การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง • การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้ำสมัยอี่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก ทำให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I, IBM 600 เครื่องคอมพิวเตอร์ Mark1เครื่องคอมพิวเตอร์ ENIAC
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ำกว่า ใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่า และมีความแม่นยำ
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนำที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป"
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Circuit) เป็นการรวมวงจรไอซีจำนวนมากลงในแผ่นซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สำคัญสำหรับการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโปรเชสเซอร์"
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Circuit) เป็นการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ การจัดแบ่งประเภทของ เครื่องคอมพิวเตอร์ จะอาศัยความเร็วของการประมวลผล และขนาดความจำ ของหน่วยบันทึกข้อมูล ซึ่งสามารถแบ่งได้ เป็น 4 ประเภท ได้แก่ • Supercomputers • Mainframe Computers • Minicomputers • Microcomputers
Super Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง มีความเร็วในการประมวลผลที่สูงประมาณ 100 คำสั่งต่อวินาที และมีขนาดความจำปริมาณมาก ต้องการห้องที่สามารถปรับอุณหภูมิได้ และมักจะใช้งานในวิจัยต่าง ๆ เช่น การวิจัยเกี่ยวกับ ดินฟ้าอากาศ(อุตุนิยมวิทยา) การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม การวิเคราะห์ด้านโมเลกุลของสารต่าง ๆ
Mainframe Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองมาจาก Super Computer มีความต้องการการบำรุงรักษาคล้าย ๆ กับ Super Computer แต่มักจะพบในองค์กรขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร ธุรกิจการบิน บริษัท และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพราะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมโยงกับเครื่องปลายทางได้จำนวนมาก ทำให้สามารถตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้ได้พร้อมกันหลาย ๆ คน
Mini Computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง ที่มักจะพบในหน่วยงานบริษัทที่ใช้งานเฉพาะด้าน เช่น ประมวลผลงานบัญชี โดยสามารถนำไปเชื่อมต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายเครื่อง โดยมีลักษณะการทำงานแบบ การประมวลผลกระทำอยู่ที่ส่วนกลาง แล้วนำไปประมวลผลที่เครื่องปลายทาง โดยที่เครื่องปลายทางไม่ต้องประมวลผลเอง (Centralized)
Micro Computer คอมพิวเตอร์ใช้งานที่พบได้อย่างแพร่หลาย โดยอาจจะพบได้ทั้งในรูปของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ (Personal Computer) หรือแบบพกพา (Portable Computer) ลักษณะต่าง ๆ