400 likes | 478 Views
การพัฒนาอุดมศึกษา ๒๕๕๒. ศ,ดร.ธรรมศักดิ์ พงศ์ พิชญามาตย์ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการอุดมศึกษา( กกอ. / สกอ. ). แนวคิดการสร้าง บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน. มาตรฐานอุดมศึกษา๒๕๔๘ กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ๒๕๕๒ (Thai Qualifications Framework TQF/HEd)
E N D
การพัฒนาอุดมศึกษา๒๕๕๒การพัฒนาอุดมศึกษา๒๕๕๒ ศ,ดร.ธรรมศักดิ์ พงศ์พิชญามาตย์ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการอุดมศึกษา(กกอ./ สกอ.)
แนวคิดการสร้างบัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน • มาตรฐานอุดมศึกษา๒๕๔๘ • กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ๒๕๕๒ (Thai Qualifications Framework TQF/HEd) 3. การรับรองวิทยฐานะสถาบัน ? (National Accreditation System) *** มาตรฐานศึกษิต /Ed Person ๖ประการคือ ภาษาดี ประพฤติดี วิจารณญาน ใฝ่รู้ รสนิยม และการนำความรู้ไปปฏิบัติได้
TQF/HedกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาTQF/Hedกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ๒ ก.ค.๒๕๕๒ เรื่องกรอบ.....*** 2. ประกาศคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ๑๖ ก.ค..๒๕๕๒ เรื่องแนวทาง.. ***ทุกมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในราชอาณาจักรไทย ต้องปฏิบัติตามข้อ ๑
TQF/HEd • ส่วนที่๑ สาระสำคัญ • ความหมาย หลักการ วัตถุประสงค์ โครงสร้าง ความสัมพันธ์ • คุณลักษณะบัณฑิต การทวนสอบ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • ส่วนที่๒ ขั้นตอนการปฏิบัติ • การพัฒนาระบบ การทำรายละเอียด หลักสูตรและรายวิชา การขออนุมัติ การเสนอ การรายงาน การประกัน การเผยแพร่ การกำกับ
TQF/HEd ความหมาย แสดงระบบ... ระดับคุณวุฒิ... ความเชื่อมโยง... มาตรฐานการเรียน... ปริมาณการเรียน... การเรียนตลอดชีวิต ระบบ กลไก ความมั่นใจ ได้บัณฑิตคุณภาพ
TQF/HEd • หลักการสำคัญ... • สอดคล้อง พ.ร.บ .๒๕๔๒ • มุ่งเน้นมาตรฐานการเรียน (Learning Outcomes) • รามกฎกติกาทั้งระบบ • สร้างการยอมรับทั้งระดับชาติและนานาชาติ
TQF/HEd • วัตถุประสงค์...เพื่อ... • เป็นกลไก/เครื่องมือ... • กำหนดเป้าหมาย... • เชื่อมโยง... • สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ... • กรอบการสื่อสาร... • เทียบเคียง... • มีการกำกับ... • ลดขั้นตอน
TQF/HEd • โครงสร้างและองค์ประกอบ... • ระดับคุณวุฒิ...*** ระดับ๑ อนุปริญญา๓ปี ระดับ๒ ปริญญาตรี ระดับ๓ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ๔ ปริญญาโท ระดับ๕ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับ๖ ปริญญาเอก ระดับ๗ (ปริญญาเอกชั้นสูง) ***ทุกระดับมี ต.ย.มาตรฐานคุณวุฒิทั้ง๕ด้าน
TQF/HEd • โครงสร้างและองค์ประกอบ... 2. การเรียนรู้และมาตรฐานการเรียน..Domain of Learning...๕ด้าน • คุณธรรม/จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์...และความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข สื่อสารและ IT • (บางสาขามีทักษะพิสัย/Psychomotor Skill )
TQF/HEd • มาตรฐานผลการเรียนรู้ขั้นต่ำ ๕ ด้าน เช่น ป.ตรี... • .ด้านคุณธรรม จริยธรรม • สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น • ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ • การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม • อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละเป็นแบบอย่างที่ดี และเข้าใจโลก เป็นต้น
TQF/HEd • ด้านความรู้ • มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ • ตระหนัก รู้หลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง • สำหรับหลักสูตรวิชาชีพต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้เฉพาะในสาขา และตระหนักถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ • ส่วนหลักสูตรวิชาชีพที่เน้นการปฏิบัติ จะต้องตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
TQF/HEd • ด้านทักษะทางปัญญา • มีความเข้าใจในแนวคิด หลักการทฤษฎีที่สำคัญในวิชาที่ศึกษา • มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งในการวิเคราะห์ข้อโต้แย้งและปัญหาใหม่ๆในวิชาทีเรียนและในชีวิตประจำวัน • ตระหนักในประเด็นปัญหาสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ • การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและการมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ • สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้จากการศึกษาเล่าเรียนมาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้น
TQF/HEd • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • มีความรับผิดชอบในการเรียนและความประพฤติของตนเอง • สามารถที่จะริเริ่มและการพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาการและการพัฒนาลักษณะอื่นๆของตนเองได้โดยมีกาแนะนำบ้างเล็กน้อย • สามารถที่จะไว้วางในใจให้ทำงานได้อย่างอิสระและทำงานที่มอบหมายให้แล้วเสร็จโดยอาศัยการแนะนำปรึกษาแต่เพียงเล็กน้อย • สามารถทำงานกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อจุดหมายร่วมกัน
TQF/HEd • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร • มีความสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ตลอดจนใช้ทักษะทางคณิตสาสตร์ขั้นพื้นฐานในการแก้ใขปัญหาในการศึกษาและในการทำงาน และในสภาพแวดล้อมเชิงสังคม • สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการพูดและเขียน ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
TQF/HEd • หลักสูตรใหม่และปรับปรุงป.ตรี • ต้องใช้เกณฑ์นี้ • มาตรฐานแต่ละสาขาต้องมีการอนุมัติ • ขณะนี้มีหลักสูตรที่ผ่านแล้วเช่น • สาขาพยาบาล อก. แพทย์ วศ.คอม. ฯ • สาขาการเกษตรต้องทำ!
TQF/HEd • ลักษณะหลักสูตรแต่ละระดับ • จำนวนหน่วยกิต • การกำหนดชื่อคุณวุฒิ/ปริญญา • การเทียบโอนความรู้ ***ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่มีและได้ประกาศเป็นกฎกระทรวง หรือประกาศต่างๆแล้ว
TQF/HEd • ความสัมพันธ์ระหว่างคุณวุฒิ • อนุ ป. ๙๐ นก. * * * * * • ป.ตรี๔ ๕และ๖ปี ๑๒๐ ๑๕๐ และ๑๘๐ นก. 2* • ปกบ. ๒๔ นก. 3* • ป.โท ๓๖ นก. 4* • ปกบ.ชั้นสูง ๒๔ นก. 5* • ป.เอก ๔๘ นก. 6*
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ทุกระดับมีสองส่วน 1.1 มีความรู้อย่างน้อย ในระดับ 1.2 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์แต่ระดับ
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ ๑.๑ความรู้ที่ครอบคลุมสอดคล้องและเป็นระบบในสาขาที่ศึกษาตลอดถึงความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง -๑.๒ความสามารถที่จะตรวจสอบปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์จากความเข้าใจที่ลึกซึ้งของตนเองและความรู้จากสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยคำแนะนำแต่เพียงเล็กน้อย
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ (ต่อ)... ๑.๓ความสามารถในการค้นหา การใช้เทคนิคทางในและสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ และแก้ปัญหาที่ซับซ้อน -ตลอดจนการเลือกใช้กลไกเหมาะสมในการสื่อผลการวิเคราะห์ต่อผู้รับข้อมูลข่าวสารกลุ่มต่างๆ - ๑.๔กรณีของหลักสูตรวิชาชีพสิ่งสำคัญคือความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพในวิชาชีพนั้นๆ
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ (ต่อ)... ๑.๕ ในกรณีของหลักสูตรที่ไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ สิ่งสำคัญคือ ความรู้ความเข้าในจอย่างลึกซึ้งในผลงานวิจัยต่างๆในสาขาวิชานั้นๆ ความสามารถในการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และประเมินคงวามสำคัญของการวิจัยในการขยายองค์ความรู้ในสาขาวิชา
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๒ คุณลักษณะบัณฑิต ๒.๑มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหา และข้อโต้แย้งทั้งในสถานกรณีส่วนบุคคลและของกลุ่ม โดยการแสดงออกซึ่งสภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมไปปฏิบัติได้ ๒.๒ สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏีและระเบียบวิธีการศึกษาค้นคว้าในสาขาวิชาของตนเอง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและข้อโต้แย้งในสถานการณ์อื่นๆ
TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๒ คุณลักษณะบัณฑิต ๒.๓ สามารถพิจารณาแสวงหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการหรือวิชาชีพโดยยอมรับข้อจำกัดของธรรมชาติของความรู้ในสาขาวิชาของตน ๒.๔ มีส่วนร่วมในการติดตามพัฒนาการในศาสตร์ของตนให้ทันสมัย และเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจของตนเสมอ ๒.๕ มีจริยธรรมแลความรับผิดชอบสูงทั้งในบริบทวิชาการ ในวิชาชีพและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
TQF/HEd • การทวนสอบมาตรฐาน • มีการสังเกต ตรวจสอบ ประเมิน สัมภาษณ์ เพื่อพิสูจน์สิ่งที่กำหนดในเป้หมาย • มีกลไกการตรวจสอบเช่นการดูคะแนนในกระดาษคำตอบ
TQF/HEd • ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม • การแสวงหาความรู้ • การพัฒนาทักษะทางปัญญา • การพัฒนาทักษะความสำพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข สื่อสาร สารสนเทศ
TQF/HEd • สถาบันที่จะจัดการเรียนการสอน • ต้องมีการรับรอง • หรือในอนาคตจะมีระบบ • การรับรองวิทยฐานะมารองรับ
TQF/HEd • ระบบกลไกการประกันคุณภาพ • IQA • EQA
TQF/Hedส่วนที่ ๒ ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ