640 likes | 898 Views
นาย สมบูรณ์พงษ์ พุกกะเวส. กลุ่มงานพิจารณาแหล่งกำเนิดและวิเคราะห์สินค้า. กรมศุลกากร. โทร. 02-6677616 , 02-6677015 ,01-9329649. OPERATIONAL PROCEDURES. UNDER. INTERIM RULES OF ORIGIN. BETWEEN. INDIA - THAILAND. ( FTA ). INTERIM RULES OF ORIGIN. UNDER. INDIA - THAILAND FTA.
E N D
นาย สมบูรณ์พงษ์ พุกกะเวส กลุ่มงานพิจารณาแหล่งกำเนิดและวิเคราะห์สินค้า กรมศุลกากร โทร.02-6677616 , 02-6677015 ,01-9329649
OPERATIONAL PROCEDURES UNDER INTERIM RULES OF ORIGIN BETWEEN INDIA - THAILAND ( FTA )
INTERIM RULES OF ORIGIN UNDER INDIA - THAILAND FTA ( I T F T A )
สินค้าภายใต้กฎแหล่งกำเนิดชั่วคราว ภายใต้ ITFTA นี้ มีทั้งหมด 82 รายการ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภายใต้กฎ Wholly Obtained , กลุ่ม ภายกฎที่ได้กำหนดไว้แล้วใน Annex A และ กลุ่ม ภายใต้กฎ CTC + 40 % LC
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดภายใต้ITFTAกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดภายใต้ITFTA 1. Wholly Obtained Goods Definition ( WO ) 2. Substantial Transformation โดยการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในตัวสินค้า ( Value Added or Local Content = LC ) การเปลี่ยนแปลงพิกัดฯ (Change of Tariff Classification = CTC )
สำหรับสินค้าที่อยู่ในภาคผนวก เอ จำนวน 25 รายการ Chapter 16 , 71 , 73, 84 , 85 , 90
เกณฑ์แหล่งกำเนิด หรือ Local Content หรือ CTC Local Content + CTC
โดยสินค้านั้นมีขบวนการผลิต ภายในประเทศผู้ส่งออก ( ขบวนการผลิต ดังกล่าวจะต้องไม่เป็นไปตามกฎข้อ 8 ) กฎข้อ 8 คือ กฎว่าด้วยขั้นตอนและขบวนการผลิตแบบง่ายๆ
วัตถุดิบนำเข้า Processing ผ้าฝ้าย CC เสื้อสำเร็จรูปส่งออก 52 62 พิกัดฯของ วัตถุดิบนำเข้า แตกต่าง จากพิกัดฯ ของ สินค้าส่งออก ในระดับ 2 หลัก
กฎข้อ 8 ขั้นตอนและขบวนการผลิตแบบง่ายๆ การทำแห้ง การแช่แข็ง การดองเค็ม การระบายอากาศ การคัดแยก การทำให้เย็น การหมักเกลือ การกำจัดฝุ่น การร่อน การกำจัดกาก การจัดหมวดหมู่ การประทับเครื่องหมาย ตรา หรือสิ่งอื่นใดที่เหมือนกันลงบนผลิตภัณฑ์หรือหีบห่อที่ต่างกัน
การแช่หรือทาน้ำมัน การผสมอย่างง่ายของผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะที่ ไม่แตกต่างจากของผสมนั้น การถอดประกอบ การฆ่าสัตว์ การทำความสะอาดอย่างง่าย การเปลี่ยนแปลงหีบห่อและการแยกหีบห่อ และการส่งมอบของเพื่อประกอบเข้าด้วยกัน
สูตร การคำนวณ Local Content F.O.B.- C.I.F X = 100 F.O.B เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าเพิ่มในประเทศผู้ผลิต
สำหรับสินค้าที่ไม่อยู่ในภาคผนวก เอ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่1ได้แก่Chapter 08 , 10 , 25 , 26, 7103 กลุ่มนี้ ใช้เกณฑ์ WO เป็นเกณฑ์ เพื่อการกำหนดแหล่งกำเนิด
กลุ่มที่ 2 ได้แก่ Chapter 28 , 29 , 39 , 44 , 72 ,76 , 87 , 91 และ 94 กลุ่มนี้ใช้เกณฑ์ : 40 % Local Content + CTC ในระดับ4 หลัก เป็นเกณฑ์เพื่อการกำหนดแหล่งกำเนิด
ผู้นำเข้าที่ต้องการรับสิทธิลดภาษีอากรภายใต้ ITFTA ให้ตรวจสอบเงื่อนไข 2 ประการ ดังนี้ ตัวสินค้าจะต้องมีคุณสมบัติที่สอดคล้อง กับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดภายใต้ ITFTA 1 ข้อควรจำ มีเอกสาร FORM FTA INDIA – THAILAND กำกับขณะผ่านพิธีการศุลกากร 2
ประกาศที่ 84 / 2547 หลักการทั่วไป ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า( FORM FTA INDIA-THAILAND) ออกโดยหน่วยงานราชการของสาธารณรัฐอินเดียซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออก
- ต้องมีตราประทับและลงนาม โดยผู้มีอำนาจของหน่วยงานดังกล่าว - ซึ่งได้มีการแจ้งตัวอย่างตราประทับและ ลายมือชื่อไว้ ต่อกรมศุลกากรแล้ว
-ใบรับรองฯฉบับใด ออกโดย เจ้าหน้าที่ ที่ไม่มีอยู่ในบัญชี จะไม่เป็นที่ยอมรับของ ประเทศไทย ผู้นำของเข้า ต้องยื่น • ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า • พร้อมกับการยื่นใบขนฯขาเข้า -สำแดงเลขที่ใบรับรองฯ และ ชื่อ หน่วยงานที่ออกใบรับรองฯในใบขนฯ
ใบรับรองเลขที่ 631024 ลงวันที่ 9 ก. ย. 2547 ประเทศผู้ออก อินเดีย
- ประทับตรา หรือ เขียนตัวบรรจง ด้วยหมึกสีแดง ไว้อย่างชัดเจน ที่มุมบนด้านขวาของต้นฉบับใบขนฯและสำเนาทุกฉบับว่า“ITFTA” - ให้ยื่นใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า 2ฉบับ (ก) ต้นฉบับ (Original) - สีฟ้า (ข) สำเนาฉบับที่สอง (Triplicate) - สีขาว
สินค้าที่นำเข้า ตามใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า จะต้องปฏิบัติตาม กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ภายใต้ ข้อผูกพันตามกรอบ “ITFTA” ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า จะต้อง ระบุ เงื่อนไข การได้แหล่งกำเนิด ไว้ในช่อง 8
เงื่อนไขการได้แหล่งกำเนิดเงื่อนไขการได้แหล่งกำเนิด X = Wholly Obtained = WO ( สินค้าได้มาจากประเทศใดประเทศหนึ่งทั้งหมด ) Local Content = 20 % หรือ 30 % หรือ 40% ( มูลค่าเพิ่มในประเทศผู้ผลิต )
4 Digit + 40 % เปลี่ยนพิกัดฯในระดับ 4หลัก ( การเปลี่ยนพิกัดฯจากประเภทอื่น มาเป็นประเภทย่อยที่2811.19 ) และมีมูลค่าเพิ่มในประเทศผู้ผลิต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
6 Digit + 40 % เปลี่ยนพิกัดฯในระดับ 6หลัก ( การเปลี่ยนพิกัดฯจากประเภทย่อยอื่นๆมาเป็นพิกัดฯประเภทย่อย 8418.21) และ มีมูลค่าเพิ่มในประเทศผู้ผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
8 Origin Criterion X หรือ 40 % หรือ 4 Digit + 40 % หรือ 6 Digit + 40 %
ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าฉบับเดียว อาจได้รับการสำแดง รายการหลายรายการได้ ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า มีอายุ 12 เดือน นับแต่วันที่ออกใบรับรองฯนั้น
กรณีที่ยื่นใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า เกินกำหนดอายุเวลาดังกล่าว ให้ผู้นำของเข้า ยื่นคำร้องขอผ่อนผัน ต่อส่วนพิธีการนำเข้า สำนักงานศุลกากร หรือ ด่านศุลกากรภูมิภาค พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลประกอบ
เมื่อใบขนฯขาเข้าได้ผ่านพิธีการฯสมบูรณ์แล้วเมื่อใบขนฯขาเข้าได้ผ่านพิธีการฯสมบูรณ์แล้ว ให้แนบต้นฉบับใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า พร้อมสำเนา ไปกับ ต้นฉบับใบขนฯขาเข้าก่อนนำ ใบขนสินค้าดังกล่าว ไปขอตรวจของต่อไปด้วย
- ใบรับรองฯ - จะต้องพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อความ : - กระทำโดยวิธีขีดฆ่าและเขียน หรือพิมพ์เพิ่มเติมใหม่
แล้วรับรองโดยลงชื่อและประทับตราแล้วรับรองโดยลงชื่อและประทับตรา หน่วยงานที่ออกใบรับรอง แหล่งกำเนิดสินค้านั้น ช่องว่างใน ใบรับรองฯต้องขีดเส้นปิดกั้น เพื่อป้องกันการเพิ่มเติมข้อความภายหลัง
ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า - จะออกให้ในขณะส่งออก ยกเว้น : บางกรณี อาจมีการออกใบรับรองฯไม่ทัน ด้วยเหตุผลอันสมควร ก็อาจออกให้ย้อนหลัง แต่ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน 45 วัน นับแต่วันที่บรรทุกสินค้าลงเรือโดยต้องมีตราประทับในใบรับรองฯว่า “ISSUED RETROACTIVELY”ในช่อง 4
- กรณี : มีการสูญหาย : หน่วยงานที่ออกใบรับรองฯ จะรับรองความถูกต้อง ของสำเนาต้นฉบับและสำเนาฉบับที่สองโดยระบุวันที่ออก วันเดียวกับ วันที่ออกหนังสือรับรองฯต้นฉบับ พร้อมทั้งให้ประทับตรา “CERTIFIED TRUE COPY FOR THE ORIGINAL CERTIFICATE NO……DATE…….” ในช่อง 12
CERTIFIED TRUE COPYFOR THE ORIGINAL CERTIFICATE NO……DATE………
ให้สำแดงรหัส“8”ในช่องรหัสสิทธิพิเศษ • ในต้นฉบับใบขนฯขาเข้าและสำเนา ในกรณีที่ : ปริมาณของที่นำเข้าน้อยกว่าในใบรับรองฯ ให้ผ่อนผัน ใช้ใบรับรองฯ ได้เท่ากับปริมาณ ที่นำเข้าจริงการผ่อนผันดังกล่าว จะต้องไม่มี ข้อสงสัยในแหล่งกำเนิดสินค้า
- ให้ระบุเกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้าที่นำเข้าตามใบรับรองฯในช่อง 8 ให้สอดคล้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้กรอบความตกลงฯ ตามภาคผนวก เอ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ของที่นำเข้าโดยส่งผ่านประเทศอื่น ของที่นำเข้าโดยส่งผ่านประเทศอื่น ผู้นำเข้า จะต้องปฏิบัติ ดังนี้ - ยื่นใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า พร้อมกับการยื่นใบขนฯขาเข้า • สำแดงเลขที่ใบรับรองฯ และ ชื่อหน่วยงานที่ออก • ใบรับรองฯไว้ในใบขนฯขาเข้า
ประทับตราหรือเขียนตัวบรรจง ด้วยหมึกสีแดง • ไว้อย่างชัดเจนที่มุมบนด้านขวา ของต้นฉบับใบขนฯ • ขาเข้าและสำเนาทุกฉบับว่า “ITFTA”
- ให้ยื่นใบรับรองฯ 2 ฉบับ ดังนี้ - ต้นฉบับ ( Original ) สีฟ้า - สำเนาฉบับที่ 2 ( Triplicate ) สีขาว
ยื่นใบตราส่งสินค้าชนิด • THROUGH BILL OF LADING - สำเนาของต้นฉบับ INVOICE ของผู้ส่งออก - เอกสารหลักฐาน ที่แสดงว่า การส่งผ่านนั้น เนื่องจากความจำเป็นทางภูมิศาสตร์ หรือ เป็นเพราะเส้นทางขนส่งบังคับ 1
ของนั้นมิได้นำไปเพื่อการซื้อขาย หรือ เพื่อการใช้บริโภค ภายในประเทศที่ส่งผ่าน 2 ของนั้นมิได้จัดทำด้วยประการใดๆในประเทศที่ส่งผ่าน นอกจากขนถ่ายขึ้น และลงจากยานพาหนะ หรือ จัดทำเพียงเพื่อ ให้คงอยู่ในสภาพดีเท่านั้น 3
ของที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไปของที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป Re- Export นอกจากจะต้อง ปฏิบัติตามระเบียบพิธีการปกติแล้ว ให้ปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้ กรณีที่ได้ชำระภาษีอากรขาเข้าแล้ว ให้ผู้ส่งของออก ยื่น คำร้องขอรับต้นฉบับใบรับรองฯและสำเนาฉบับที่ 2 คืน ต่อ ส่วนพิธีการส่งออก สำนักงานศุลกากร หรือ ด่านศุลกากรภูมิภาค พร้อมกับการยื่นใบขนฯขาออก โดยบันทึก ไว้ในใบขนฯขาออกว่า 1