410 likes | 503 Views
IS638 Information Resource Acquisition. ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP). ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และประโยชน์. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. ความเป็นมา. มติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐ
E N D
IS638 Information Resource Acquisition Company Logo
ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์(e-Government Procurement : e-GP) ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และประโยชน์ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ความเป็นมา มติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐ ทุกแห่งลงประกาศจัดซื้อ จัดจ้าง / ประกาศประกวดราคา ให้เป็นที่รู้กันอย่างกว้างขวางในเว็บไซต์ ระบบ e-GP เริ่มแรก ซึ่งเป็นระบบที่ใช้งานในปัจจุบันเน้นให้หน่วยจัดซื้อมาประกาศจัดซื้อจัดจ้างบนเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลางเท่านั้น ไม่สามารถติดตามความคืบหน้าของการจัดซื้อจัดจ้างในระบบได้ ความเป็นมา Company Logo
1 2 3 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชน สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง และพัสดุภาครัฐที่มีความถูกต้องได้ด้วยความรวดเร็ว ครบถ้วน และทั่วถึง มีต้นแบบการประมูลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ครบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ และเชื่อมต่อข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ เพื่อให้ผู้บริหาร และ ส่วนราชการสามารถติดตามสถานะหรือ ความคืบหน้าของ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐได้ในลักษณะ Online เพื่อเร่งรัดให้ส่วนราชการ เร่งดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ให้สามารถเบิกจ่ายเงินให้ เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล วัตถุประสงค์ Company Logo
ประโยชน์ที่ได้รับ e-GP คือศูนย์กลางที่เป็นหน้าต่างในการบริการข้อมูล และดำเนินธุรกรรมทางการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ความโปร่งใส และมีประสิทธิภาพ การปรับปรุง นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ ความสะดวก และความทั่วถึง อย่างเท่าเทียมกัน กระตุ้นตลาด และเสริมสร้าง ขีดความสามารถ ของภาคเอกชน Company Logo
โครงสร้างระบบ e-GP ระยะที่ 2 ระบบ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement System : e-GP) Government Fiscal Management Information System (GFMIS) หน่วยงานภาครัฐ ระยะที่ 1 EPIC Information Disclosure Center Registration Management System Management Information System Help Desk Operation System ผู้ค้าภาครัฐ (Supplier) e-Auction e-Marketplace ผู้สนใจทั่วไป Bank Gateway ระยะที่ 3 หน่วยงานผู้ตรวจสอบ ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย Company Logo
โครงสร้างระบบ e-GP ; EPIC 1 5 2 EPIC 3 4 Registration management Center Help Desk Operation System Management Information System Information Disclosure Center www.themegallery.com Company Logo
โครงสร้างระบบ e-GP ; EPIC ระบบลงทะเบียนประกอบด้วย 3 ระบบงานย่อย ได้แก่ ระบบลงทะเบียนหน่วยจัดซื้อภาครัฐ ระบบลงทะเบียนผู้ค้ากับภาครัฐ และระบบลงทะเบียนผู้สนใจทั่วไป 1. Registration management Center ระบบปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เช่น การจัดทำเอกสารการประมูล, การจัดทำรายชื่อผู้ขอรับ/ซื้อเอกสาร, รายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอ, ผู้ผ่านการพิจารณา, ผู้ชนะการเสนอราคา และการบันทึกสาระสำคัญในสัญญา 2. Operation System ระบบเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างประกอบด้วย 5 ระบบงานย่อย ได้แก่ ระบบร่าง TOR, ระบบประกาศจัดซื้อจัดจ้าง, ระบบประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง ข้อมูลด้านกฎ/ระเบียบ และบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน 3. Information Disclosure Center Company Logo
โครงสร้างระบบ e-GP ; EPIC ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทำหน้าที่กำกับดูแล จัดเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจแก่หน่วยงานจัดซื้อต่าง ๆ ทำให้สามารถเลือกสินค้าและบริการที่มีความคุ้มค่าที่สุดได้ 4. Management Information System เป็นระบบจัดการและจัดเก็บปัญหาต่างๆ ที่มีผู้สอบถามเข้ามา โดยสามารถบันทึกรายละเอียดของปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ไว้ในระบบ เพื่อนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลต่อไป 5. Help Desk www.themegallery.com
การพัฒนาระบบ e-GP ระยะที่ 1 • ระบบลงทะเบียน ระบบเปิดเผยข้อมูล การจัดซื้อจัดจ้าง ระบบปฏิบัติงาน ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐ ระบบ MIS ระบบ Helpdesk www.gprocurement.go.th ระบบลงทะเบียนหน่วยจัดซื้อภาครัฐ เป็นระบบจัดการและจัดเก็บปัญหาต่างๆ ที่มี ผู้สอบถามเข้ามา โดยสามารถบันทึกรายละเอียดของปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ไว้ในระบบ เพื่อนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลต่อไป วิธีสอบราคา รายงานการประกาศจัดซื้อ จัดจ้าง วิธีประกวดราคา ประกาศร่าง TOR วิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ระบบลงทะเบียน ผู้ค้าภาครัฐ รายงานการลงทะเบียน ประกาศจัดซื้อ จัดจ้าง รายงานบัญชี รายชื่อผู้ทิ้งงาน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบลงทะเบียน ผู้สนใจทั่วไป รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง ข้อมูลด้านกฎระเบียบพัสดุ บัญชีรายชื่อ ผู้ทิ้งงาน รหัส GPSC
โครงสร้างระบบ e-GP; e-Auction ระบบการประมูลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) เป็นระบบสำหรับการแข่งขันเสนอราคาระหว่างผู้ค้าด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยต้องดำเนินการผ่านผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง ซึ่งปัจจุบันมีทั้งสิ้น 12 แห่ง Company Logo
โครงสร้างระบบ e-GP; e-Marketplace ระบบ e-Marketplace คือ ตลาดกลางรวบรวมสินค้าและร้านค้าหรือบริษัทจำนวนมาก เพื่อเป็นสื่อกลางในการซื้อ-ขายสินค้าและบริการภาครัฐ โดยเป็นการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายผู้ซื้อ ฝ่ายผู้ค้า และฝ่ายผู้ดูแลตลาด Company Logo
ตัวอย่างระบบ MIS(รายงานรายละเอียดผลการจัดซื้อจัดจ้าง) Company Logo
ตัวอย่างระบบ MIS(รายงานสรุปโครงการที่ได้ผู้ชนะการเสนอราคาตามกระทรวง) Company Logo
ตัวอย่างระบบ MIS(รายงานสรุปโครงการที่ได้ผู้ชนะการเสนอราคาเป็นรายเดือน) Company Logo
1) เป็นระบบจัดการและจัดเก็บปัญหาต่างๆ ที่มีผู้สอบถามเข้ามา โดยสามารถบันทึกรายละเอียดของปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ไว้ในระบบ เพื่อนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลต่อไป 2) รองรับการให้บริการแก้ไขปัญหาและคำแนะนำเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 3) เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้ามาทำการศึกษาและนำไปแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ระบบ Help Desk
ช่องทางการสอบถาม โทรศัพท์ Web-form ผู้ถามลงทะเบียนในระบบแล้ว Website ผู้ถามยังไม่ได้ลงทะเบียนในระบบ e-mail opm@cgd.go.th สามารถสอบถามปัญหา ได้ 4 ช่องทาง
สอบถามทางโทรศัพท์ Call Center เบอร์โทรศัพท์ 0-2298-6300-4 แจ้งปัญหาการใช้งานระบบ e-GP เบอร์โทรศัพท์ 0-2273-9673VOIP 122-6704 , 122-4647 , 122-6777 จะมีเจ้าหน้าที่ของ สมจ. หมุนเวียนกันรับโทรศัพท์ หากเจ้าหน้าที่ตอบคำถามไม่ได้ จะบันทึกคำถามไว้ และตอบกลับทาง e-mail หรือทางโทรศัพท์
การสอบถามทาง Web Form คลิกที่เมนูนี้
การสอบถามทาง Web Form กรอกคำถาม
การสอบถามทาง Web Site หน้าจอการลงทะเบียนหน่วยงานภาครัฐ คลิกที่นี่
การสอบถามทาง Web Site บันทึก e-mail กรอกคำถาม
ความแตกต่างของรูปแบบการให้บริการแบบเดิม / แบบใหม่
ความแตกต่างของรูปแบบการให้บริการแบบเดิม / แบบใหม่
การจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • เป็นการจัดหาพัสดุตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 • มีผลใช้บังคับ ตั้ งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2549 • ดำเนินการเฉพาะวิธีการจัดซื้อหรือจัดจ้างที่มี มูลค่าตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป (วิธีประกวดราคา) • ไม่รวมถึงวิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน
การจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) • กำ หนดให้ผู้เสนอราคาได้เสนอราคาแข่งขันกันเองด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ภายในระยะเวลาและ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ โดยไม่เปิดเผยตัวเลขที่มีการ เสนอราคา (การเสนอราคาวิธีแบบปิด : sealed Bid Auction) • เมื่อได้ผู้ขายและได้รับการอนุมัติ การจัดซื้อ จัดจ้างแล้ว การทำสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจ้าง ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
คณะกรรมการ • คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเลคทรอนิกส์ (กวพ.อ.) • คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) และร่าง เอกสารการประกวดราคา ซึ่งแต่งตั้ งโดยหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ • คณะกรรมการประกวดราคา หน่วยงานที่จัดหาพัสดุเป็นผู้คัดเลือกและแจ้งให้ อธิบดีกรมบัญชีกลางเป็นผู้แต่งตั้ ง ซึ่งคณะกรรมการประกอบด้วย • คณะกรรมการประกวดราคา หน่วยงานที่จัดหาพัสดุเป็นผู้คัดเลือกและแจ้งให้ อธิบดีกรมบัญชีกลางเป็นผู้แต่งตั้ ง ซึ่งคณะกรรมการประกอบด้วย • คณะกรรมการประกวดราคา หน่วยงานที่จัดหาพัสดุเป็นผู้คัดเลือกและแจ้งให้ อธิบดีกรมบัญชีกลางเป็นผู้แต่งตั้ ง ซึ่งคณะกรรมการประกอบด้วย • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วยงาน เป็นกรรมการและเลขานุการ • เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วยงาน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประกวดราคา • เผยแพร่เอกสารเชิญชวน • รับซองข้อเสนอด้านเทคนิค • พิจารณาคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้น (ผู้มีสิทธิเสนอราคา) • พิจารณารับข้อเสนอราคาของผู้มีสิทธิเสนอราคา หลังจากกระบวนการเสนอราคา สิ้นสุดแล้ว
ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • การเตรียมดำเนินการ • การคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเสนอราคา • การเสนอราคา
การเตรียมดำเนินงาน • แต่งตั้ งคณะกรรมการกำหนดร่าง TORและร่างเอกสารประกวดราคา • คณะกรรมการกำหนดร่าง TORจัดทำร่าง TORและร่างเอกสารประกวด ราคา และนำร่างเสนอขออนุมัติต่อหัวหน้าหน่วยงาน • เผยแพร่สาระสำคัญของร่าง TORส่วนที่เปิดเผยได้ โดยประกาศทาง เว็บไซท์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน เพื่อให้สาธารณะชน เสนอแบบวิจารณ์ หรือให้ความเห็นชอบ • เสนอร่าง TORที่คณะกรรมการร่าง TORได้ปรับปรุงแล้ว เพื่อขอความ เห็นชอบต่อหัวหน้าหน่วยงาน แล้วประกาศทางเว็บไซท์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง อีกครั้ งไม่น้อยกว่า 3 วัน
การเตรียมดำเนินงาน (ต่อ) 5. ส่งรายชื่อคณะกรรมการประกวดราคาและรายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลาง ให้กรมบัญชีกลางเพื่อขอให้ดำเนินการ ดังนี้ 1) แต่งตั้ งคณะกรรมการประกวดราคา 2) คัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ 3) กำหนดวัน เวลา และสถานที่เสนอราคา 6. เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานขอซื้อ ขอจ้าง เสนอหัวหน้าหน่วยงานเห็นชอบ พร้อมแนบรายชื่อคณะกรรมการประกวดราคา TORและเอกสารประกวดราคาที่ได้ประกาศ ลงในเว็บไซท์แล้ว 7. คณะกรรมการประกวดราคา ดำเนินการโดย 1) นำสาระสำคัญของเอกสารต่าง ๆ ในส่วนที่เผยแพร่ได้ลงประกาศ ในเว็บไซท์ของหน่วยงานและเว็บไซท์ของกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) ไม่น้อย กว่า 3 วัน 2) ปิดประกาศอย่างเปิดเผย ณ ที่ทำการของหน่วยงาน และจัดส่ง เอกสารประกวดราคาให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน
การคัดเลือกเบื้องต้น การคัดเลือกเบื้องต้นหาผู้มีสทธเสนอราคา ิ ิ มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. การรับซองข้อเสนอด้านเทคนิค คณะกรรมการประกวดราคารับซองข้อเสนอด้านเทคนิคจากผู้ประสงค์ เสนอราคา โดยให้เวลารับซองไม่น้อยกว่า 3 วัน นับแต่วันสุดท้ายของการจำหน่าย จ่ายแจก แต่ต้องไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันแรกที่กำหนดให้รับซอง 2. การคัดเลือกหาผู้มีสิทธิเสนอราคา คณะกรรมการประกวดราคา ดำเนินการคัดเลือกเบื้องต้น โดยพิจารณา คุณสมบัติถูกต้อง ครบถ้วน ข้อเสนอด้านเทคนิคเหมาะสม และไม่เป็นผู้เสนอราคาที่มี ผลประโยชน์ร่วมกัน
การคัดเลือกเบื้องต้น(ต่อ)การคัดเลือกเบื้องต้น(ต่อ) 3. แจ้งผลการพิจารณาคัดเลือก โดย 1) แจ้งให้ผู้ยื่นเสนอราคาทุกรายทราบ 2) ประกาศทางเว็บไซท์ของหน่วยงาน (www.gprocurement.go.th) อย่างน้อย 3 วัน 4. การอุทรณ์ผลการคัดเลือกเบื้องต้น มีขั้ นตอนโดย 1) ผู้ไม่ผ่านการคัดเลือกยื่นอุทรณ์ภายใน 3 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง 2) หัวหน้าหน่วยงานพิจารณาและแจ้งผลการอุทรณ์ให้เสร็จภายใน 7 วัน ถ้าพิจารณาไม่เสร็จภายใน 7 วัน ให้ถือว่าผู้ยื่นอุทรณ์เป็นผู้ได้รับการพิจารณา มีสิทธิ เสนอราคา
การเสนอราคา มีขั้ นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. การเตรียมการเสนอราคา เมื่อรับแจ้งชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ กำหนดวัน เวลา และ สถานที่เสนอราคา จากกรมบัญชีกลาง ให้แจ้งกำหนดวัน เวลา และสถานที่เสนอราคาแก่ผู้มี สิทธิเสนอราคาทุกราย
การเสนอราคา (ต่อ) 2. การเสนอราคา ดำเนินการโดย 1) การเสนอราคาให้ใช้วิธีแบบปิด (Sealed Bid Auction) คือ ไม่ ทราบสถานการณ์ประมูลว่าราคาของใครอยู่ในสถานะใดโดยแยกผู้เสนอราคาแต่ละรายออก จากกัน ผู้มีสิทธิเสนอราคาส่งผู้แทนได้ไม่เกินรายละ 3 คน และต้องมีเจ้าหน้าที่ของรัฐ 1 คน เข้าประจำด้วย (ถ้ามีผู้มีสิทธิเสนอเข้าเสนอราคาเพียงรายเดียว ให้หน่วยงานยกเลิกการดำเนินการ) 2) ดำเนินการแข่งขันเสนอราคาภายในเวลา 30-60 นาที โดย สามารถเสนอราคาได้หลายครั้ ง และห้ามไม่ให้มีการรับ - ส่งข้อเสนอราคาทางโทรสาร ( FAX ) 3) เมื่อสิ้นสุดเวลา มีผู้เสนอราคาตํ่าสุดหลายราย ให้ต่อเวลากา เสนอราคาอีก ครั้ งละ 3 นาที จนได้ผู้เสนอราคารายต่ำสุดรายเดียว 4) ผู้เสนอราคายื่นเอกสารยืนยันราคาต่อกรรมการประกวดราคา ก่อนออกจากสถานที่เสนอราคา
การเสนอราคา (ต่อ) 3. การควบคุมการเสนอราคา 1) คณะกรรมการประกวดราคาอย่างน้อยกึ่งหนึ่ง อยู่ประจำ สถานที่ที่กำหนดทำการเสนอราคา 2) วางมาตรการเพื่อปองกันการทุจริตและ ้การสมยอมราคา 3) กรณีมีข้อขัดข้องทำให้เสนอราคาไม่ได้ ให้สั่ งพักการเสนอ ราคา และทำการแก้ไข แล้วดำเนินการต่อภายในเวลาที่เหลืออยู่ และต้องดำเนินการเสนอ ราคาให้เสร็จภายในวันเดียว ถ้าแก้ไขไม่เสร็จ ให้ยกเลิกการเสนอราคาและนัดเสนอราคา ใหม Company Logo
การเสนอราคา (ต่อ) 4. การพิจารณาและการเสนอผลการเสนอราคา ดำเนินการโดย 1) คณะกรรมการประกวดราคาประชุมทันทีที่การเสนอราคา สิ้นสุด และเสนอผลการพิจารณาว่ายอมรับข้อเสนอของผู้มีสิทธิเสนอราคารายใด และเสนอ หัวหน้าหน่วยงานทราบภายในวันทำการถัดไป 2) หัวหน้าหน่วยงานพิจารณาผลการประกวดราคาดังนี ้ • กรณีเห็นชอบให้คณะกรรมการประกวดราคาแจ้งผลให้ ผู้มีสิทธิเสนอราคาทุกราทราบ • กรณีไม่เห็นชอบ แจ้งเหตุผลให้คณะกรรมการประกวดราคา ชี้แจงภายใน 3 วัน เพื่อพิจารณาเพิ่ มเติม หากเห็นชอบ คณะกรรมการฯ แจ้งผลให้ผู้มีสิทธิ เสนอราคาทุกรายทราบ หากไม่เห็นชอบภายใน 3 วัน ให้สั่ งยกเลิกการประกวดราคา และ แจ้งผู้มีสิทธิเสนอราคาทุกราย และรายงาน กวพ.อ ทราบ 3) แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้เสนอราคาทราบทุกราย และประกาศ ทางเว็บไซท์ของหน่วยงาน และเว็บไซท์ของกรมบัญชีกลาง อย่างน้อย 3 วัน Company Logo
การเสนอราคา (ต่อ) 5. การอุทรณ์ผลการเสนอราคาของผู้มีสิทธิเสนอราคา พิจารณาดังนี้ • กรณีมีการอุทรณ์ต่อ กวพ.อ และ กวพ.อ เห็นด้วยกับการอุทรณ์ หน่วยงานต้องดำเนินกระบวนการเสนอราคาใหม่ตามที่ กวพ.อ มีคำสั่ ง • กรณี กวพ.อ ไม่เห็นด้วยกับการอุทรณ์ให้ หน่วยงานดำเนินการ ต่อไปตามระเบียบ 6. ค่าใช้จ่ายในการจัดการเสนอราคาทั้ งหมด คิดจากผู้ชนะการประมูล ดังนี ้ 1) ค่าใช้จ่ายในการให้บริการเสนอราคา คำนวณจากมูลค่าสินค้าหรือ บริการที่จะสั่ งซื้อสั่ งจ้าง สูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท 2) ค่าใช้จ่ายเดินทางของผู้ให้บริการตลาดกลางสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท Company Logo
แนวการตรวจสอบการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. สอบทานการแต่งตั้ งคณะกรรมการ มีคำสั่ งชัดเจนและแต่งตั้ งโดยหัวหน้า หน่วยงาน 2. สอบทานการจัดทำร่าง TORและร่างเอกสารประกวดราคาเป็นไปตาม ระเบียบกำหนด และได้นำร่างเสนอหัวหน้าหน่วยงานเพื่ออนุมัติ ก่อนเผยแพร่ 3. สอบทานว่าร่าง TORและร่างประกวดราคาที่นำออกเผยแพร่ มีการ ดำเนินการดังนี้ 1) ได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานแล้ว และเผยแพร่ในส่วนที ่ เป็นสาระสำคัญที่เผยแพร่ได้ 2) เผยแพร่ทั้ งในเว็บไซท์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) ภายในระยะเวลาที่ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 กำหนด โดยขอดูร่องรอยซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการไว้ เช่น การสั่ งพิมพ์การเผยแพร่ประกาศจากหน้าเว็บไซท์ Company Logo
แนวการตรวจสอบการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4. สอบทานการแต่งตั้ งคณะกรรมการเป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 กำหนด โดยตรวจสอบว่ารายชื่อ คณะกรรมการประกวดราคาเป็นชุดที่กรมบัญชีกลางแต่งตั้ งถูกต้อง 5. สอบทานการคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง โดยตรวจสอบว่าผู้ให้ บริการตลาดกลาง กำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่ทำการเสนอราคา ได้พิจารณากำหนด โดยอธิบดีกรมบัญชีกลางถูกต้อง 6. สอบทานรายงานขอซื้อ ขอจ้าง ว่ามีการดำเนินการถูกต้องตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่ มเติม และได้เสนอหัวหน้า หน่วยงานเห็นชอบแล้ว 7. สอบทานการจัดส่งประกาศประกวดราคา มีการส่งให้ สตง. และปิดประกาศ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่ มเติม และมีการ เผยแพร่สาระสำคัญของเอกสารที่เผยแพร่ได้ทางเว็บไซท์ตามที่ระเบียบฯ 2549 กำหนด ดูรายละเอียดเพิ่มเติม Company Logo