831 likes | 1.29k Views
แนวทางการจัดทำขอบเขตของงาน ( Terms of Reference : TOR ). โดย ณัฐชนน ศิริพงษ์สุร ภา. ความหมายของ TOR. รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ข้อ 27). หลักการ. รายละเอียด ของรายงาน. - เหตุผลความจำเป็น. - รายละเอียดของพัสดุ. ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง**.
E N D
แนวทางการจัดทำขอบเขตของงาน(Terms of Reference : TOR) โดย ณัฐชนนศิริพงษ์สุรภา
รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ข้อ 27) หลักการ รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง และเหตุผล • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา
ร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา หัวข้อการร่าง TOR อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1) ความเป็นมา 2) วัตถุประสงค์ 3) คุณสมบัติผู้เสนอราคา 4) แบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ 5) ระยะเวลาดำเนินการ 6) ระยะเวลาส่งมอบของหรืองาน 7) วงเงินในการจัดหา
ประเด็นศึกษา • จัดทำเมื่อใด ? • ใครมีหน้าที่จัดทำ ? • จัดทำอย่างไร ? • ผลของการจัดทำ TOR
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ เวลาในการจัดทำ Spec. กวพ. 1. ทราบยอดเงิน คือ งบประมาณ ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ 2. การเริ่มดำเนินการจัดหา คือ การดำเนินการในขั้นตอนที่ ต้องผูกพันบุคคลภายนอก (การประกาศฯ) ระเบียบฯ ข้อ 13 หลังจากทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้รีบดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผน... 3. การกำหนด spec. เป็นขั้นตอนภายในหน่วยงาน ยังไม่ได้ก่อให้เกิดสิทธิแก่บุคคลภายนอก จึงสามารถดำเนินการก่อนทราบยอดเงิน
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ • ระเบียบพัสดุฯ 35 • ไม่มีข้อกำหนด • นโยบายของหน่วยงาน • - เจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะทำงาน • คณะกรรมการ • Spec. กลาง • - ฯ - ผู้มีหน้าที่กำหนด Spec. ระเบียบพัสดุฯ 49 คณะกรรมการ ร่างขอบเขตของงาน (Terms of reference : TOR)
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** ในชั้นของการขอตั้ง งบประมาณ ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Conceptual design ** ในชั้นการจัดหา ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Detail design
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** Spec.หน่วยงานกลาง ** - สำนักงบประมาณ - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ** Spec.ตามความต้องการ ของหน่วยงานที่จะจัดหา พัสดุ **
หลักการในการกำหนด Spec. **การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรืองานจ้าง / คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน **การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองานแต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ **เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้
หลักเกณฑ์ ในการกำหนด Spec. ความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ กวพ. กำหนด
เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาส ให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม 1 2 ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง *** - ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน เว้นแต่ กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้น ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ข้อ 17 - การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ การออกแบบรูปรายการก่อสร้างโดยละเอียด ให้หัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบควบคุมดูแลให้เป็นไปอย่างโปร่งใส
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. 23 มี.ค. 20 (ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20) งานก่อสร้าง 1 กำหนดรายการในการก่อสร้าง 1. มี มอก. หรือ กระทรวง อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น กำหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม มาตรฐานนั้นได้ ตามความ จำเป็น 2. กรณียังไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการ จำเป็นต้องใช้สิ่งของที่เห็นว่ามีคุณภาพดี เป็นที่นิยมใช้ในขณะนั้น และจำเป็นต้อง ระบุชื่อยี่ห้อสิ่งของ ก็ให้ระบุได้ แต่ต้องให้มากยี่ห้อที่สุดเท่าที่จะสามารถ ระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่ากัน ก็ให้ใช้ได้ด้วย
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 งานซื้อ 2 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ *** ห้าม *** 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52** เรื่อง ข้อเสนอมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อภาค อุตสาหกรรมไทย (การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย) ส่วนราชการ ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 มติ ครม. 29 พ.ค. 50 (ว.83) เคร่งครัด 1 รัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน องค์ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ขอความร่วมมือ + ขอความร่วมมือ ระวัง ไม่ให้ขัดหรือแย้ง กับข้อตกลงระหว่างประเทศ Ex. ข้อตกลงขององค์การการค้าโลก การประกวดราคานานาชาติ เป็นต้น
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ มติ ครม. 29 พ.ค. 50 - ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50** 1. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ 1.1 ให้หน่วยงานของรัฐใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ และถือปฏิบัติตาม ระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่วยงานผู้ดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ถ้าไม่มีพัสดุที่ผลิตในประเทศ ให้จัดหาตามหลักเกณฑ์ปกติ 1.2 กรณีต่อไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรีพิจารณา **ถ้ามีพัสดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ หรือมีน้อยราย หรือจำเป็นต้องใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือจะต้องนำเข้าจากต่างประเทศในกรณีเป็นประโยชน์ยิ่งกว่า 2
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ข้อยกเว้น การจัดหาที่มีวงเงินไม่สูง ให้เป็นความรับผิดชอบของ หัวหน้า หน่วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาอนุมัติได้ 2 กรณี ดังนี้ 1) เป็นการจัดหาอะไหล่ ที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ คุณลักษณะเฉพาะ และ จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ 2) เป็นการจัดหาที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือ ราคาพัสดุที่นำเข้า จากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท 2. การใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนำเข้าจากต่างประเทศ หมายถึง การใช้ หรือ การนำเข้าพัสดุที่ผลิตสำเร็จรูปแล้วจาก ต่างประเทศไม่ว่าจะนำเข้าโดยคู่สัญญาหรือบุคคลอื่นใด
พัสดุที่ผลิตในประเทศ พัสดุที่ผลิตในประเทศหมายความว่า ....... ** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสำเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยู่ในประเทศไทย (ระเบียบ 35 ข้อ 5) ** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบหรือขึ้นรูปในประเทศไทยด้วย (การตีความของ กวพ.) ** การตรวจสอบว่า พัสดุที่จะซื้อหรือจ้างทำมีผู้ผลิตหรือรับจ้าง ในประเทศไทยหรือไม่ ต้องตรวจสอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ห้ามกำหนด Spec. กีดกัน ผู้ผลิต/ผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย(16(1)) ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย พัสดุที่ต้องการ ซื้อ/จ้าง มีผู้ได้รับการจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์ ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับคู่มือผู้ซื้อ หรือ ใบแทรกคู่มือผู้ซื้อ (16(3)) มีประกาศ มอก. ให้กำหนด Spec.หรือรายการในการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน มอก. หรือ ระบุเฉพาะหมายเลข มอก. ก็ได้ (16(2)) 3 จำเป็นต้องกำหนดแตกต่าง ให้แจ้ง สมอ. (16(4)) 3
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ความหมาย ข้อกำหนดทางวิชาการที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้กำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ ในระดับที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด สมอ. ผู้กำหนด มอก. ** คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (กมอ.) ประกอบด้วยบุคคล 3 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้ใช้ และ นักวิชาการ มาร่วมกันกำหนดมาตรฐาน ** โดยมี
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) เครื่องหมายมาตรฐาน หรือ เครื่องหมาย มอก. ที่ สมอ. อนุญาตให้แสดง กับผลิตภัณฑ์ มี 2 เครื่องหมาย เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป มาตรฐานทั่วไป :กำหนดขึ้นเพื่อให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป โดยผู้ประกอบการที่ทำผลิตภัณฑ์สามารถยื่นขอใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายได้ ด้วยความสมัครใจ เมื่อ สมอ. ได้ตรวจสอบโรงงาน กรรมวิธีการผลิต และ ทดสอบผลิตภัณฑ์ หากเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว สมอ. ก็จะอนุญาตให้ แสดงเครื่องหมายมาตรฐานที่ผลิตภัณฑ์นั้นได้ เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ มาตรฐานบังคับ : กำหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัย และเพื่อป้องกันความเสียอันอาจจะเกิดแก่ประชาชน หรือกิจการอุตสาหกรรม หรือเศรษฐกิจของประเทศโดยการตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ผลิตภัณฑ์ นั้นๆ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ซึ่งผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้นำเข้า จะต้องผลิต จำหน่าย และนำเข้า เฉพาะผลิตภัณฑ์ ที่ได้มาตรฐาน ตามที่ สมอ. ประกาศ หนดเท่านั้น หากไม่กระทำตามจะมีความผิดตามกฎหมาย เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ตัวอย่าง มาตรฐาน มอก. ** ประเภทบังคับ ** มอก. 30-2542 ไนทรัสออกไซด์ ที่ใช้ในการแพทย์ มอก. 531-2546 ภาชนะพลาสติก สำหรับบรรจุผลิตภัณฑ์เภสัช ปราศจากเชื้อ มอก. 539-2546 คาร์บอนไดออกไซด์ การแพทย์ มอก. 540-2545ออกซิเจนการแพทย์ ** ประเภทไม่บังคับ ** มอก. 29-2545สบู่ถูตัว มอก. 41-2548 กรดซัลฟุริกเข้มข้น และโอเลียมสำหรับใช้ในทาง อุตสาหกรรม มอก. 56-2533 น้ำตาลทราย มอก. 152-2539เครื่องสำอาง : ข้อกำหนดทั่วไป
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ระเบียบ พัสดุฯ 35 มาตรฐาน บังคับ มาตรฐาน มอก. มาตรฐาน ไม่บังคับ
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ความหมาย : โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ตามมาตรฐานเลขที่ มอก. 9001 หรือ มอก. 9002 ในกิจการและขอบข่าย ที่ได้รับการรับรองจาก 1. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ 2. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ หรือ 3. หน่วยงานที่กระทรวงอุตสาหกรรมให้การรับรองระบบงาน (Accreditation)
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ มติคณะรัฐมนตรี 27 มิถุนายน 2538 คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน ( National Accreditation Council : NAC ) มีอำนาจหน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายและกำกับดูแลให้การดำเนินการ ด้านการรับรองระบบงานด้านการมาตรฐานให้สอดคล้องกับระบบสากล และ ** พิจารณาการรับรองระบบงานแก่หน่วยรับรองและหน่วยตรวจ **
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ** รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง : สาขาการรับรองระบบคุณภาพ มอก. 9001 หรือ ISO 9001 1. บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด 2. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ 3. บริษัท เอเจเอ รีจีสตร้าส์ จำกัด 4. บริษัท โกลบอล เซอร์ติฟิเคชั่น เซอร์วิส จำกัด 5. บริษัท ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) จำกัด 6. บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด 7. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 8. บริษัท ทียูวี ไรน์แลนด์ (ประเทศไทย) จำกัด 9. บริษัท ไทยประเมินรับรองสากล จำกัด
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ การแสดงเครื่องหมายการรับรอง การประกาศตัวเองว่ามีระบบบริหารงาน คุณภาพหรือได้จัดทำระบบคุณภาพแล้ว (Self Declaration) 1 Ex. บริษัท ABC จำกัด มุ่งสู่ระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 ความหมาย : บริษัท ABCจำกัด จัดทำระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 โดย ไม่ได้ขอรับการตรวจสอบและรับรองจากหน่วยรับรอง (Certification Body - CB) ใดๆ
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ การได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ กรณีที่ 1 Non-accreditation Certification การได้รับการรับรองจาก CBที่ยังไม่ได้รับรองความสามารถ Ex. 2 กขค การรับรอง บริษัท ABC จำกัด ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 9001:2000 ความหมาย : บริษัท ABCจำกัด จัดทำระบบ บริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และผ่าน การตรวจสอบและรับรองจากCB กขค แต่ CB กขคยังไม่ได้รับการรับรองความสามารถ จาก NAC เครื่องหมายรับรอง ของหน่วยงานรับรอง
โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ การได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ กรณีที่ 2 Accreditation Certification การได้รับการรับรองจาก CBที่ได้รับรองความสามารถ Ex. 2 กขค การรับรอง บริษัท ABC จำกัด ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 9001:2000 ความหมาย : บริษัท ABCจำกัด จัดทำระบบ บริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และผ่านการ ตรวจสอบและรับรองจากCB กขค โดยCB กขค ได้รับการรับรองความสามารถจาก NAC เครื่องหมายรับรอง ของ CB เครื่องหมายรับรอง ของ NAC
ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน ** มติคณะรัฐมนตรี 9 มิถุนายน 2513 ** “รัฐบาลจะเป็นผู้นำและสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตภายในประเทศโดยกำหนดระเบียบปฏิบัติให้หน่วยราชการ และรัฐวิสาหกิจใช้ผลิตภัณฑ์ในประเทศที่มีคุณภาพ ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนดและมีราคาที่เหมาะสม”
ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน ** มติคณะรัฐมนตรี 13 ตุลาคม 2521 ** คณะกรรมการ พิจารณาสินค้าที่ผลิตในประเทศ หน้าที่ พิจารณากลั่นกรองคำขอจดทะเบียนสินค้า ที่ผลิตในประเทศ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การตรวจสอบ มอก. / ISO / ผลิตภัณฑ์จดทะเบียน มาตรฐาน มอก. ISO 9001:2000 ผลิตภัณฑ์ จดทะเบียน บัญชีคู่มือผู้ซื้อหรือใบแทรกคู่มือผู้ซื้อ ที่กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำขึ้น ถึงเดือนก่อนหน้าที่จะประกาศซื้อหรือจ้าง
www.tisi.go.th หาประกาศ มอก. หาผลิตภัณฑ์จดทะเบียน หาผู้ได้รับอนุญาต มอก. หา ISO
หาประกาศ มอก. หาผลิตภัณฑ์จดทะเบียน หาผู้ได้รับอนุญาต มอก. หา ISO
หาผู้ได้รับอนุญาต มอก.
หาผู้ได้รับอนุญาต มอก.
หาผู้ได้รับอนุญาต มอก.