600 likes | 1.23k Views
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข. ขั้นตอนการปรับค่าตอบแทน. งานที่ต้องทำคู่ขนานระหว่างรอมติ ครม. จัดเก็บข้อมูลกำลังคน ร่างระเบียบเบิกจ่าย. ครม. เห็นชอบ หลักการ 21 ธค. 47 ตั้ง คกก. พิจารณา รายละเอียดแล้ว เสนอ ครม. อีกครั้ง ภายใน 1 เดือน. สรุปข้อเสนอต่อ ครม. อีกครั้ง.
E N D
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
ขั้นตอนการปรับค่าตอบแทนขั้นตอนการปรับค่าตอบแทน • งานที่ต้องทำคู่ขนานระหว่างรอมติ ครม. • จัดเก็บข้อมูลกำลังคน • ร่างระเบียบเบิกจ่าย ครม. เห็นชอบ หลักการ 21 ธค. 47 ตั้ง คกก. พิจารณา รายละเอียดแล้ว เสนอ ครม. อีกครั้ง ภายใน 1 เดือน สรุปข้อเสนอต่อ ครม. อีกครั้ง • งานที่ต้องทำในระยะต่อไป • เตรียมข้อมูลตั้งงบฯ ปี 2549 • เตรียมปรับเกณฑ์ ของปีที่ 2 มติ ครม. 3 พค. 48 ประชุม คกก. ครั้งที่ 1 : 27 มค. 48 ครั้งที่ 2 : 8 กพ. 48 ครั้งที่ 3 : 22 กพ. 48 ครั้งที่ 4 : 4 มีค. 48 ครั้งที่ 5 : 9 มีค. 48 • คณะกรรมการตามมติ ครม. • เลขาธิการ ก.พ. ประธาน • ปลัด ก. คลัง, ป. กลาโหม • ป. มหาดไทย, สงป. • สกอ., กพร., ปลัด กทม • ดร. รุ่ง, นพ. ดำรงค์, ป. สธ. • ก.พ. /กสธ. เลขาร่วม สงป. ออกงวดเงิน ประชุมกับวิชาชีพ 16 , 28 กพ. 48 1 , 2 ,7 มีค. 48 ส่วนราชการเบิกจ่ายให้ผู้มีสิทธิ์ ย้อนหลังตั้งแต่ 1 ตค. 47
ประเภทค่าตอบแทน ตามข้อพิจารณาของคณะกรรมการฯ 1. ค่าตอบแทนด้วยเหตุลักษณะงานพิเศษ เป็นค่าตอบแทนประเภทที่กำหนดขึ้นใหม่ (รวมแพทย์สาขาส่งเสริมพิเศษ ที่เดิมเคยจ่ายอยู่แล้ว) 2. ค่าตอบแทนเพื่อการปฏิบัติงานในพื้นที่เฉพาะ เป็นค่าตอบแทนเดิมใช้งบ อื่น และเพิ่มใหม่บางส่วน 3. ค่าตอบแทนกรณีไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว เป็นค่าตอบแทนเดิมที่ส่วนราชการใช้งบ อื่นอยู่แล้ว
ค่าตอบแทนประเภทที่ 1 เป็นค่าตอบแทนด้วยเหตุพิเศษ ซึ่งกำหนดระเบียบให้จ่ายได้ ตาม มาตรา 33 แห่ง พรบ. ข้าราชการพลเรือน หรือ มาตราอื่น ๆ ของ พรบ. ข้าราชการแต่ละประเภท
ค่าตอบแทนประเภทที่ 1 • มีการจัดกลุ่มตามลักษณะงาน ดังนี้ • แพทย์ จัดเป็น 3 กลุ่ม • ทันตแพทย์ จัดเป็น 3 กลุ่ม • เภสัชกร จัดเป็น 2 กลุ่ม • พยาบาลวิชาชีพ จัดเป็น 3 กลุ่ม • สหสาขา จัดเป็น 1 กลุ่ม
2. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในสถานบริการพื้นที่เฉพาะ (สรุปผล) กลุ่มสถานบริการ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พ. วิชาชีพ สถานบริการระดับอำเภอพื้นที่ทั่วไป 2,200 2,200 1,900 อยู่ในสถานบริการระดับอำเภอพื้นที่ ทั่วไป หลังปฏิบัติงานในภาครัฐครบ 3 ปี 2,800 600 2,800 ขอยกเลิกข้อจำกัดเดิม ไม่เกิน 60 เตียง และแพทย์ไม่เกิน 6 คน สถานบริการระดับอำเภอ ทุรกันดาร/ขาดแคลน ระดับ 1 10,000 10,000 5,000 1,000 สถานบริการระดับอำเภอ ทุรกันดาร/ขาดแคลน ระดับ 2 20,000 20,000 10,000 2,000 สถานบริการระดับจังหวัด พื้นที่พิเศษ ปีแรก 3 จว.ภาคใต้ 10,000 5,000 10,000 1,000
ความก้าวหน้า อ.ก.พ. กฎหมาย ประชุมพิจารณาร่างระเบียบฯ เมื่อ 25 สค. 48 ให้ความเห็นชอบร่างแล้ว คกก. ประชุม เมื่อ 26 สค. 48 เห็นชอบการปรับ อัตรารายเดือน (งบไม่พอ) ให้เบิกงวดเงิน และ ทำการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี อนุ กก. พื้นที่ ประชุม 8 สค. และนัด 13 กย. 48 เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ ประกาศพื้นที่
ระเบียบการเบิกจ่าย • ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. .... (พ.ต.ส.) • (กำลังเสนอ ก.คลัง เห็นชอบ เสนอประธาน ก.พ.) • 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายสำหรับผู้ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษ พ.ศ. .... • (รอ รมว. คลัง ลงนาม)
การจัดสรรงบประมาณ 2548 งบประมาณ จำนวน 2,875 ล้านบาท กสธ. ได้รับ รวม 2,244 ล้านบาท พ.ต.ส. 2,072 ล้านบาท พื้นที่ 3 จังหวัด 58 ล้านบาท ระดับอำเภอ 114 ล้านบาท สป. ได้รับ รวม 2,001 ล้านบาท พ.ต.ส. 1,832 ล้านบาท พื้นที่ 3 จังหวัด 57 ล้านบาท ระดับอำเภอ 112 ล้านบาท
ปรับลดอัตรา เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ ประเภท 1 แพทย์ 4,600-9,200-13,500 บาท/เดือน ทันตแพทย์ 4,600-6,900-9,200 บาท/เดือน เภสัชกร 1,200-2,400 บาท/เดือน พยาบาลวิชาชีพ 900-1,100-1,450 บาท/เดือน สหสาขา 900 บาท/เดือน ประเภท 2 3 จว. แพทย์-ทันต-เภสัช-พยาบาล 10,000-5,000-1,000 ระดับอำเภอ แพทย์-ทันต-เภสัช 2,800-2,800-600
รายละเอียดของ กลุ่มทันตแพทย์
ทันตแพทย์ กลุ่ม 3 ทันตแพทย์เฉพาะทาง ที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติบัตรทุกสาขา ประมาณ 10,000 บ/ด กลุ่ม 2 ทันตแพทย์ที่ได้รับปริญญาโท/เอกทางด้านทันตแพทย์และสาธารณสุข จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น ให้การรับรอง ประมาณ 7,500 บ/ด กลุ่ม 1 ทันตแพทย์ทั่วไป ประมาณ 5,000 บ/ด
กลุ่มที่ 1 ค่าตอบแทน 5,000 บาท ทันตแพทย์ทั่วไป ไม่มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องเพิ่มใดๆ มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องในระดับต่ำกว่าปริญญาโท มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องด้านอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 2 ค่าตอบแทน 7,500 บาท ระดับการศึกษา ด้านทันต/สาธารณสุข จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่นรับรอง ปริญญาโท /ปริญญาเอก
สาขาทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรมหัตถการ ปริทันตวิทยา ทันตกรรมสำหรับเด็ก ทันตกรรมประดิษฐ์ ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ทันตกรรมจัดฟัน วิทยาเอ็นโดดอนต์ วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก ทันตกรรมทั่วไป ทันตสาธารณสุขศาสตร์ เวชศาสตร์ช่องปาก ทันตกรรมบดเคี้ยว รังสีวิทยาของขากรรไกรและใบหน้า ชีววิทยาช่องปาก ทันตวัสดุศาสตร์ จุลชีววิทยาช่องปาก ฯลฯ สาขา การสาธารณสุข สาธารณสุขศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข การบริหารงานสาธารณสุข สาธารณสุขมูลฐาน พฤติกรรมศาสตร์ฯลฯ
กลุ่มที่ 3 ค่าตอบแทน 10,000 บาท • วุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติฯ จากทันตแพทยสภา (10 สาขา) • 1. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิโลเฟเชียล • 2. ปริทันตวิทยา 3.ทันตกรรมสำหรับเด็ก • 4. ทันตกรรมจัดฟัน 5.ทันตกรรมประดิษฐ์ • 6. ทันตสาธารณสุข 7.วิทยาเอ็นโดดอนต์ • 8. ทันตกรรมหัตถการ 9. ทันตกรรมทั่วไป • วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน ทพ11 = ทันตแพทย์ทั่วไป กลุ่ม 1 ทพ21 = ทันตแพทย์ที่จบปริญญาโท/ปริญญาเอก กลุ่ม 2 ทพ31 = ทันตแพทย์ที่ได้รับวุฒิบัติ/หนังสืออนุมัติ กลุ่ม 3
รายละเอียดของ กลุ่มเภสัชกร
เภสัชกร • กลุ่ม 2 เภสัชกรที่ได้รับมอบหมายให้มีภารกิจหลักในการ • - เตรียมยาหรือวิเคราะห์ยาเคมีบำบัด • - งานให้คำปรึกษาแนะนำด้านยาในกลุ่ม • โรคติดต่อร้ายแรง เช่น เอดส์ วัณโรค เป็นต้น • งานคุ้มครองผู้บริโภค ที่เกี่ยวข้องกับการ • ตรวจจับและทำคดี ประมาณ 3,000 บ/ด กลุ่ม 1 เภสัชกรที่ให้ปฏิบัติงานเภสัชกรรมด้านอื่น นอกเหนือจากกลุ่ม 2 ประมาณ 1,500 บ/ด
เงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่มเงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่ม • รับผิดชอบหลัก ต้องทำไม่น้อยกว่า 50% ถ้ามีระยะเวลา/ปริมาณงานไม่มาก มีได้ 1 คน • ถ้าหมุนเวียนหรือร่วมกันรับผิดชอบ ถือว่าไม่มีผู้รับผิดชอบหลัก • เตรียม/วิเคราะห์ยาเคมีบำบัด กำหนดมีได้เฉพาะ รพท./รพศ./รพ. มหาวิทยาลัย/สถาบันเฉพาะทาง
เงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่มเงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่ม • ให้คำปรึกษาด้านยาในกลุ่มโรคติดต่อร้ายแรง มีได้กับ รพ. ทุกระดับ ที่มีกิจจกรรมนี้ แต่ต้องจัดเป็นโครงการ/คลินิก/พื้นที่เฉพาะ แยกจากการจ่ายยาปกติ และกำหนดจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้รับผิดชอบหลัก • การคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะที่ตรวจจับและทำคดี กำหนดให้เป็นบทบาทภารกิจหลักของเภสัชกรที่ปฏิบัติงาน สสจ. แต่ไม่ใช่ทุกคน • กรณีที่ไม่เข้าเกณฑ์ แต่มีผลงานเชิงประจักษ์ ให้เสนอเป็นกรณี ๆ
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน ภก11 =เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานเภสัชกรรมทั่วไป กลุ่ม 1 ภก21กลุ่ม2 =เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานเตรียมยา/วิเคราะห์ยาเคมีบำบัด ภก22 = เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาด้านเภสัชกรรมเฉพาะ ภก23 = เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะตรวจจับ/ทำคดี
รายละเอียดของ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ
พยาบาลวิชาชีพ กลุ่ม 3 งานบริการพยาบาลวิสัญญี , การพยาบาล เวชปฏิบัติ , การพยาบาล ICU CCU หรือผู้ป่วยหนัก/วิกฤต , การพยาบาลติดเชื้อรุนแรง/อันตราย การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง และหัวหน้าทีมควบคุมคุณภาพการบริการทางการพยาบาล ประมาณ 2,000 บ/ด กลุ่ม 2 งานบริการ ER, LR, OR, IPD, งานควบคุมการติดเชื้อใน โรงพยาบาล (IC) และ งานตรวจและบำบัดพิเศษ ได้แก่ เคมีบำบัด รังสีรักษา ตรวจรักษาผ่านกล้อง/เครื่องมือพิเศษ งานกระตุ้นพัฒนาการเด็ก งานตรวจสวนหัวใจ งานไตเทียม งานบำบัดยาเสพติด ฟื้นฟูสมรรถภาพ งานให้คำปรึกษาพิเศษ (Counseling) งานตรวจรักษาขั้นต้นโดยพยาบาล ที่ได้รับอนุมัติบัตรพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป ฯลฯ ประมาณ 1,500 บ/ด กลุ่ม 1 งานบริการทางการพยาบาลในแผนก OPD, การพยาบาลครอบครัวและชุมชน , งานอนามัยชุมชน / อนามัยโรงเรียน อาชีวอนามัย ประมาณ 1,000 บ/ด หมายเหตุ : อาจารย์พยาบาลให้จัดกลุ่ม ตามการฝึกปฏิบัติและร่วมให้บริการด้านนั้น ๆ
หลักการสำคัญ 1. เจตนารมณ์ คือจ่ายให้กับพยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานให้บริการโดยตรงแก่ผู้รับบริการ 2. การจัดคนลงกลุ่ม จัดได้ 1 คนต่อ 1 รหัสที่ตรงตาม งานหลักที่ปฏิบัติเป็นงานประจำ 3. ใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ ต้องเป็นปัจจุบัน ยังไม่หมดอายุ
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว11 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน OPD สถานีอนามัย PCU หรือหน่วยอื่นๆ เทียบเดียง = พยาบาลวิชาชีพใน ER ของโรงพยาบาลที่ไม่ได้แยกทีม OPD+ER อย่างชัดเจน พว12 = พยาบาลวิชาชีพในงานการพยาบาลครอบครัวและชุมชน
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว13 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานอนามัยชุมชน/อนามัยโรงเรียน/อาชีวอนามัย พว14 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในงานกลุ่ม 1 และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว21 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน ER ซึ่งรวม งาน Observe งาน Pre-hospital care * ไม่นับรวมพยาบาลที่มาทำงานล่วงเวลาเช่นปกติทำงาน OPD มาอยู่เวร part-time ER หรือ Pre-hospital care ให้จัดอยู่กลุ่ม OPD
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว22 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน LR = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบริการคลอดในห้องคลอด พว23 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน OR = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบริการผ่าตัดในห้องผ่าตัด
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว24 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในหอผู้ป่วยทุกหอผู้ป่วย = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในICU, CCUที่ไม่ได้ผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤตที่สภาการพยาบาลรับรอง *ถ้าพยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในหอผู้ป่วยในที่มีผู้ป่วยICU Needed อย่างน้อย 4 รายต่อวันและผ่านการอบรมเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤตให้จัดอยู่ในรหัสพว33
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว25 = พยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล(ICN)ที่ทำงาน Hospital wide IC และผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง/อบรมระยะสั้น(ตามประกาศสภาการพยาบาล) • จำนวน ICN ในแต่ละโรงพยาบาล = 1 คน : 250 เตียง • < 250 เตียง มี ICN ได้ 1 คน • 250 เตียงขึ้นไปเมือนับทุกๆ 250 เตียง • แล้วมีเตียงเกินอีก 100 เตียงให้เพิ่ม ICN ได้อีก 1คน
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว26 = พยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในหน่วยตรวจบำบัดพิเศษที่ผ่านการอบรมเฉพาะทางที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง / ตรงกับสาขาที่ปฏิบัติงาน (ตามประกาศสภาการพยาบาล) = พยาบาลผู้ให้บริการปรึกษา กำหนดให้มี 1 คน : 250เตียง < 250 เตียง มี ได้ 1 คน เกิน 250 เตียงขึ้นไป เมื่อนับทุก ๆ 250 เตียง แล้วมีเตียงเกินอีก 100 เตียงให้เพิ่ม ได้อีก 1คน = พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชปฏิบัติทั่วไป เวชปฏิบัติทางตา เวชปฏิบัติสาขาอื่นๆ ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป และปฏิบัติงานตรงตามสาขาที่ปฏิบัติ
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว27 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในหน่วยงานกลุ่ม2และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว31 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานพยาบาลวิสัญญี = วิสัญญีพยาบาลที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลที่มีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป และปฏิบัติงานพยาบาลวิสัญญี พว32 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานพยาบาลเวชปฏิบัติ = พยาบาลวิชาชีพที่จบการศึกษาระดับปริญญาโท ในหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรองและปฏิบัติงานเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติ
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานการพยาบาลใน ICU,CCU หรือหอผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต พว33 = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานใน ICU,CCU และผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต (ตามประกาศสภาการพยาบาล) = พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต (ตามประกาศสภาการพยาบาล)และปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย ที่มีผู้ป่วยICU Neededเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4 รายต่อวัน
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว34 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อรุนแรง • เฉพาะในช่วงที่มีการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเท่านั้น • * จำนวนพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานจริงในการดูแลผู้ป่วย อัตราส่วน พยาบาล: ผู้ป่วย =1:1 ในแต่ละเวร * โรคติดเชื้อรุนแรงเป็นไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข เช่น SARS ไข้หวัดนก ไข้กาฬหลังแอ่น
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว35 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง = พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับวุฒิบัตร APN จากสภาการพยาบาลและปฏิบัติงานตรงตามสาขา = พยาบาลวิชาชีพที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีสิทธิสมัครสอบ APN ตามประกาศสภาการพยาบาล เรื่องกำหนดการรับสมัครสอบความรู้เพื่อรับวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญเฉพาะสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ประจำปี พ.ศ. 2548 โดยมีหลักฐาน และหัวหน้าพยาบาลรับรอง
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน หัวหน้าทีมควบคุมคุณภาพบริการทางการพยาบาล พว36 = จำนวนตามที่ ก.พ. และ ก. คลัง เห็นชอบ ( รพ. 1 คน : 1 แห่ง) พว37 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในหน่วยงานกลุ่ม3และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
รายละเอียดของ กลุ่มแพทย์
แพทย์ กลุ่ม 3 แพทย์เฉพาะทางสาขาขาดแคลนสูง ประกอบด้วย สาขาพยาธิวิทยา (ทั่วไป , กายวิภาค และคลินิก) สาขานิติเวชศาสตร์ สาขาจิตเวชศาสตร์ สาขาจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น สาขาประสาทศัลยศาสตร์ สาขาศัลยศาสตร์ทรวงอก และสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา ประมาณ 15,000 บ/ด • กลุ่ม 2 แพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติ ทุกสาขานอกเหนือ กลุ่ม 3 หรือแพทย์กลุ่ม 1 ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ • ได้รับปริญญาโท/เอกด้านการแพทย์/สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กร • กลางบริหารงานบุคคลอื่น ให้การรับรอง หรือ • ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการพัฒนาระบบคุณภาพ ซึ่งเป็นระบบมาตรฐาน • และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ หรือ • ปฏิบัติงานในสถานบริการระดับอำเภอหรือศูนย์บริการระดับชุมชนอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ • มีองค์ความรู้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม หรือบริการเฉพาะด้าน ซึ่งมีผลประเมินการ • ปฏิบัติงานในเกณฑ์ดีติดต่อกันมากกว่า 4 ปี นับการปฏิบัติงานเพิ่มพูนทักษะเป็นปีที่ 1 ประมาณ 10,000 บ/ด กลุ่ม 1 แพทย์ทั่วไป ประมาณ 5,000 บ/ด
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน นพ11= แพทย์ทั่วไป กลุ่ม1 นพ21 = แพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติ (วว. /อว.)จากแพทยสภา นพ22 = แพทย์ที่จบ ป. โท/เอก ด้านการแพทย์/สธ. จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่นรับรอง นพ23 = แพทย์ที่ได้รับมอบหมายดูแลหลักระบบคุณภาพ เป็นไปตามที่ ก.พ. /คลังเห็นชอบ นพ24 = แพทย์ทั่วไป ที่ทำงานใน รพช./สถานบริการระดับอำเภอ เกินกว่า 4 ปี ผลงานดี
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน นพ31=แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยาทั่วไป นพ32 = แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยากายวิภาค นพ33 = แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยาคลินิก นพ34 = แพทย์ วว./อว.นิติเวชศาสตร์ นพ35 = แพทย์ วว./อว.จิตเวชศาสตร์ นพ36 = แพทย์ วว./อว.จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น นพ37 = แพทย์ วว./อว.ประสาทศัลยศาสตร์ นพ38 = แพทย์ วว./อว.ศัลยศาสตร์ทรวงอก นพ39 = แพทย์ วว./อว.เวชศาสตร์ป้องกัน (แขนงระบาดวิทยา)
กลุ่มสหสาขา เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด รังสีการแพทย์ แก้ไขความผิดปกติการสื่อความหมาย เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก จิตวิทยาคลินิก จำนวนมีจำกัด ไม่จัดกลุ่มในรอบปีแรก ค่าตอบแทน ประมาณ 1,000 บ./ด.
รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน สว11 = เทคนิคการแพทย์ สว21 = กายภาพบำบัด สว31 = รังสีการแพทย์ สว41 = กิจกรรมบำบัด/อาชีวบำบัด สว51 = แก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย สว61 = เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สว71 = จิตวิทยาคลินิค
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษฯ พ.ศ. .... (พ.ต.ส.) • กำหนดคุณสมบัติ ผู้ที่จะได้รับค่าตอบแทน • กรณีปฏิบัติงานหลายกลุ่มให้ได้รับอัตราสูงสุดอัตราเดียว • ปีใด งบประมาณไม่เพียงพอ ให้คณะกรรมการฯ ประกาศปรับลดอัตรา ไม่เกินอัตราที่กำหนดในระเบียบฯ • เดือนใดปฏิบัติงานไม่ครบเดือน ให้จ่ายตามส่วน ยกเว้นสิทธิตามวันลาประเภทต่าง ๆ : ลาป่วย ลาคลอดบุตร ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน ลาอุปสมบท/พิธีฮัจย์ ตรวจเลือกทหาร ลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน วิจัย
ระเบียบ ก. คลัง ว่าด้วยค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายฯ พ.ศ. .... • ดำรงตำแหน่ง นายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ • เป็นข้าราชการ ที่รับเงินเดือนอัตราปกติจากงบบุคลากร • ปฏิบัติงานให้บริการจริง รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู • พื้นที่พิเศษ 2 ส่วน : ส่วนที่ 1 สถานบริการระดับจังหวัดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนที่ 2 : ทำงานใน รพช. หรือสถานบริการระดับอำเภอ (อยู่ภาครัฐติดต่อกันเกิน 3 ปี) • ต้องปฏิบัติงานเป็นการประจำ และมีวันทำการ ไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ/เดือน • มีคณะอนุกรรมการฯ กำหนดหลักเกณฑ์การกำหนดพื้นที่พิเศษ และประกาศรายชื่อโรงพยาบาลและสถานบริการในพื้นที่พิเศษ
สิ่งที่ต้องดำเนินการ • ขั้นตอนการเบิกงบประมาณ ปี 2548 • กระทรวง ขอเบิกของกระทรวง แยกรายกรม • ใบงวดออกเป็นรายกรม แต่ละกรมทำขอกันเงินไว้ • เบิกเหลื่อมปี • การตั้งงบประมาณปี 2549 สป. ขอตั้ง 3,954 ลบ. • ได้รับอนุมัติเพียง 1,085 ลบ. ขอแปรญัตติไม่ได้ • การเตรียมปรับเกณฑ์ปี 2549 กำลังศึกษา เพื่อเสนอ • ทางเลือกการปรับหลักเกณฑ์
แนวทางการเบิกจ่าย • ให้มี คกก. ระดับกระทรวง ระดับกรม และต่ำกว่ากรม • ให้ผู้ขอรับค่าตอบแทน ยื่นแบบขอรับค่าตอบแทน ตาม • สายการบังคับบัญชา และได้รับการอนุมัติจากผ็มี • อำนาจ จึงจะมีสิทธิได้รับ กรณี Rotate งาน ต้องยื่น • แบบใหม่ทุกครั้ง • ต้องมีหลักฐานประกอบการขอยื่นแบบขอรับ • ค่าตอบแทน เช่น สำเนาใบประกอบวิชาชีพ วุฒิบัตร • หลักฐานการฝึกอบรม หรือปริญญา ตามแต่กรณี
แนวทางการเบิกจ่าย • เมื่อได้รับแบบขอรับค่าตอบแทนที่ได้รับการอนุมัติจากผู้มี • อำนาจแล้ว ให้ผู้รับผิดชอบสรุปจำนวนคน ตามแบบ • แนบท้าย เพื่อสรุปยอดงบประมาณที่ต้องใช้ สำหรับ • ค่าตอบแทน พ.ต.ส. โดยคำนวณตามจำนวนเดือน เช่น • จำนวนเดือนที่ทำงานจริง กรณีลาต่าง ๆ ตามสิทธิ และ • ค่าตอบแทนสำหรับพื้นที่พิเศษ คำนวณตามจำนวนคน • และอัตรารายเดือน • ให้เสนอขอรับการจัดสรรไปยังกองคลัง แบ่งเป็น 2 งวด • (6 เดือน) ครั้งแรก ภายใน .............. • ครั้งที่ 2 ภายใน ..............
สุดท้าย .... ขอให้อดทน เพราะ งานหนักมาก และจะถูกเร่งรัดมาก