390 likes | 564 Views
เอกสารการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2548. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนออมทรัพย์ 2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2548 เวลา 14.00 - 16.00 น. ณ.ห้องประชุม 3 ชั้น 9 บมจ.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
E N D
เอกสารการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2548 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนออมทรัพย์ 2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2548 เวลา 14.00 - 16.00 น ณ.ห้องประชุม 3 ชั้น 9 บมจ.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ เลขที่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร โทร.02-296-4863-65,4764,4781
วาระการนำเสนอ วาระที่ 1 รับรองรายงานการประชุมใหญ่ ประจำปี 2547
วาระการนำเสนอ วาระที่ 2 รับรองงบการเงินประจำปี 2547
งบดุล ณ. 31 ธันวาคม 2547 2547 บาท 2546 บาท สินทรัพย์ 160,190,643.73 108,600,355.08 หนี้สิน 936,974.80 492,861.88 สินทรัพย์สุทธิ 159,253,668.93 108,107,493.20
งบดุล ณ. 31 ธันวาคม 2547 สินทรัพย์สุทธิ ส่วนของสมาชิก เงินสะสม 73,087,287.67 45,860,790.35 ผลประโยชน์เงินสะสม 6,943,085.52 11,760,588.00 รวมส่วนของสมาชิก80,030,373.19 57,621,378.35 ส่วนของนายจ้าง เงินสมทบ 74,811,932.35 47,243,837.17 ผลประโยชน์เงินสมทบ 4,411,363.39 3,242,277.68 รวมส่วนของนายจ้าง79,223,295,.74 50,486,114.85 ผลประโยชน์รอการจัดสรร - - รวมสินทรัพย์สุทธิ 159,253,668.93 108,107,493.20 2547 บาท 2546 บาท
งบกำไรขาดทุน ณ. 31 ธันวาคม 2547 2546 บาท 2547 บาท รายได้จากการลงทุน 3,048,450.69 2,437,924.36 ค่าใช้จ่าย 1,020,645.69 723,843.18 รายได้จากการลงทุนสุทธิ 2,027,805.00 1,714,081.18 กำไร(ขาดทุน)สุทธิที่เกิดขึ้นทั้งสิ้น (626,719.48) 459,100.17 กำไร(ขาดทุน)สุทธิที่ยังไม่เกิดขึ้น- ทั้งสิ้น 646,445.33 (2,991,199.92) การเพิ่มขึ้น(ลดลง)ในสินทรัพย์สุทธิ 19,725.85 (2,532,099.75) รายได้จากการบริจาคและรายได้อื่น 1,008,864.73 264,521.32 การเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิจาก- การดำเนินงาน 3,056,377.58 (553,497.25)
วาระการนำเสนอ วาระที่ 3 รายงานผลการดำเนินงานของปี 2547 และมุมมองการลงทุนในปี 2548
วาระการนำเสนอ • สถานะและผลตอบแทนการลงทุนในปี 2547 • มุมมองการลงทุนในปี 2548
สถานะกองทุน 31 ธ.ค.46 31 ธ.ค.47 มูลค่าทรัพย์สินสุทธิรวม 108,107,493.20 159,253,668.93 บาท อัตราการเพิ่ม 47.31% ราคาต่อหน่วย 10.8383 11.0235 บาท อัตราการเพิ่ม 1.71% จำนวนสมาชิก 3,753 8,681 คน อัตราการเพิ่ม 131.31%
นโยบายการลงทุนปี 2547 นโยบายการลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง ประเภท B • เงินฝาก • ตราสารหนี้
นโยบายการลงทุนปี 2547 หลักทรัพย์กลุ่มตราสารหนี้ กลุ่มที่ 1 พันธบัตรรัฐบาล (G1) กลุ่มที่ 2 เงินฝากธนาคาร (G2) กลุ่มที่ 3 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ (G3) กลุ่มที่ 4 ตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุน (G4) กลุ่มที่ 5 ตราสารหนี้บริษัทเอกชน (G5)
สถานะของตลาดพันธบัตร(CMT Index 2 Yrs) ในปี 2547 ผลตอบแทนจากตลาดพันธบัตร เท่ากับ 0.77%
มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงาน กำหนดมาตราฐานการวัดผลสำหรับปี 2547 มาจาก สัดส่วน CMT 2 Yrs Index 100% CMT :Constant Maturity Treasury Indices The indices are constructed from the ThaiBDC’s ZERO COUPON YIELD CURVE. The curve which relates the yield on a security to its time to maturity, is based on the quoted bidding yields on government bond and treasury bills by primary dealers.
ผลตอบแทนเปรียบเทียบกับBENCHMARK ในแต่ละเดือน BENCHMARK กองทุนออมทรัพย์ 2
อัตราผลตอบแทนของกองทุนปี 2547 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1.71% ต่อปี Benchmark** 0.77% ต่อปี ** ที่มา : Total return CMT index 2 ปี 100%
มุมมองการลงทุนปี 2548 เศรษฐกิจโลก • ขยายตัวในอัตราที่ลดลง • ประเทศในกลุ่มเอเชียขยายตัวสูงสุดได้แก่ จีน และอินเดีย • สหรัฐอเมริกายังคงขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้น • ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยประมาณ 40 – 50 USD • ปัญหาการก่อการร้ายยังคงมีต่อเนื่อง
มุมมองการลงทุนปี 2548 เศรษฐกิจไทย • ขยายตัวในอัตราลดลง • การบริโภคและการท่องเที่ยวลดลง • การลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น • การส่งออกขยายตัวจากการทำ FTA • ปัญหาก่อการร้าย 3 จังหวัดภาคใต้ • โรคระบาด • แผ่นดินไหว • อัตราดอกเบี้ยปรับตัวเพิ่มขึ้น
นโยบายการลงทุน ปี 2548 นโยบายการลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง ประเภท B • เงินฝาก • ตราสารหนี้
นโยบายการลงทุน ปี 2548 หลักทรัพย์กลุ่มตราสารหนี้และเงินฝาก กลุ่มที่ 1 พันธบัตรรัฐบาล กลุ่มที่ 2 เงินฝากธนาคาร กลุ่มที่ 3 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ กลุ่มที่ 4 ตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุน กลุ่มที่ 5 ตราสารหนี้บริษัทเอกชน
นโยบายการลงทุน ปี 2548 หลักทรัพย์กลุ่มตราสารหนี้และเงินฝาก • วัตถุประสงค์ : ผลตอบแทนของกองทุนปรับเพิ่มขึ้น • ตามแนวโน้มอัตราดอกเบี้ย • แนวทางการจัดการ • กำหนดมีการลงทุนใหม่มากขึ้น • เพิ่มการลงทุนในตั๋วเงินระยะสั้นและพันธบัตรระยะสั้น • เพิ่มการฝากเงินระยะยาว และหุ้นกู้อายุไม่เกิน 3 ปี • ลดการลงทุนในพันธบัตรระยะยาว
ราคาต่อหน่วยปี 2548 (ม.ค-มี.ค)
อัตราผลตอบแทนของกองทุนปี 2548 (ม.ค-มี.ค) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 0.79% Benchmark** 0.57% ** ที่มา : Total return CMT index 2 ปี 100%
วาระการนำเสนอ วาระที่ 4 พิจารณาแต่งตั้งกรรมการกองทุน ผู้มีอำนาจ
กรรมการกองทุนผู้มีอำนาจลงนาม • คุณกอบกุล อยู่ประเทศ • บจ.ชีวาเคมีคัลส์ • คุณสรรสฤษดิ์ เย็นบำรุง • บจ.บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา
อำนาจหน้าที่ของกรรมการกองทุนผู้มีอำนาจอำนาจหน้าที่ของกรรมการกองทุนผู้มีอำนาจ 1. รับนายจ้างเพิ่ม 2. ติดต่อกับนายทะเบียนเมื่อมีนายจ้างรายใดรายหนึ่งขอถอนตัวออกจาก กองทุนหรือเลิกกิจการ 3. เปลี่ยนแปลงกรรมการกองทุน 4. แจ้งนายทะเบียนในเรื่องต่างๆ ที่ต้องถือปฎิบัติให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพและตามที่นายทะเบียนประกาศกำหนด 5. แต่งตั้งและถอดถอนผู้สอบบัญชี ตามมติของคณะกรรมการกองทุน 6. ลงนามในสัญญาแต่งตั้งบริษัทจัดการ ข้อบังคับกองทุนและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วาระการนำเสนอ วาระที่ 5 พิจารณาแต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชี และค่าตอบแทนประจำปี 2548
รายชื่อผู้สอบบัญชีและค่าตอบแทนสำหรับปี 2548 รายชื่อผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห้นชอบตามประกาศสำนักงาน ก.ล.ต. บจ. สหการบัญชี พีเคเอฟ50,000 บาท (ไม่รวมค่ายานพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่นๆ) บจ. สำนักงาน เอ.เอ็ม.ซี 58,000 บาท บจ. เอเอ็นเอส ออดิท 45,000 บาท (ไม่รวมค่ายานพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่นๆรวมไม่เกิน 800 บาท) บจ. สอบบัญชีธรรมนิติ 80,000บาท
วาระการนำเสนอ วาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
วาระที่ 6 1. แนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2. แนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง (เงินประเดิม) เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
แนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ขั้นตอนการปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ขั้นตอนที่ 1. กรรมการกองทุนจะต้องแจ้งให้ธนาคารฯ ทราบเป็นแบบฟอร์มหนังสือแจ้งการสิ้นสุดสมาชิกภาพ (กรณีคงเงินไว้ในกองทุน) ขั้นตอนที่ 2 ให้สมาชิกกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มหนังสือแจ้งความประสงค์ให้คงเงินไว้ในกองทุน (ไม่เกิน 1 ปี) พร้อมแนบสำเนาสมุดบัญชีธนาคารและค่าธรรมเนียมขอคงเงินกองทุน 535 บาท มอบเอกสารที่กรอกข้อมูลครบถ้วนจากขั้นตอนที่ 1 และ 2 ให้ธนาคาร
แนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ขั้นตอนการปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ขั้นตอนที่ 3. เมื่อเป็นสมาชิกกองทุนใหม่สมบูรณ์แล้ว ให้สมาชิกแจ้งผ่านแบบฟอร์มหนังสือขอให้จ่ายเงินออกจากองทุน ให้ธนาคารฯ ทราบ มารับเช็คเงินกองทุนและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ธนาคารฯ
แนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแนวปฎิบัติในการคงเงินไว้ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
แนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯแนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯ เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง (เงินประเดิม) ที่สามารถนำเข้า กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ต้องเป็นเงินที่นายจ้างจัดสรรหรือสำรอง หรือเงินที่ลูกจ้างได้สะสมแยกจากเงินอืนๆ เพื่อใช้จ่ายในกรณี ลูกจ้างออกจากงาน หากนายจ้างจัดให้มีโครงการก่อนวันที่ 8 ธันวาคม 2530 ก็จะสามารถนำเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้
แนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯแนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯ ขั้นตอนการยื่นขอนำเงินประเดิมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1. นายจ้างต้องยื่นคำตามแบบที่กำหนดต่อนายทะเบียน(สำนักงานก.ล.ต) ได้ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2548 2. นายจ้างยื่นคำขอพร้อมเอกสารที่แสดงให้ชื่อว่าเงินที่จะนำเข้าเป็น เงินประเดิม 3. นายจ้างจะต้องระบุยอดเงินรวมทั้งหมดที่จะต้องนำเข้า หรือ ยอดประมาณการที่ใกล้เคียง
แนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯแนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯ การนำเงินประเดิมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพแบ่งเป็น 2 รูปแบบ 1. นำเงินทั้งหมดเข้ากองทุนภายในครั้งเดียว ซึ่งเป็นการนำเข้าภายใน 1 ปี 2. นำเงินเข้ากองทุนทั้งหมดภายใน 10 รอบระยะเวลาบัญชี - การนำเงินเข้าในแต่ละครั้งหรือแต่ละรอบปีบัญชี นายจ้างสามารถ ทยอยนำเข้าจนครบตามที่ต้องการในแต่ละรอบปีบัญชี - กรณีนำเงินประเดิมเข้าภายใน 10 รอบระยะเวลาบัญชี นายจ้าง จะต้องนำเงินเข้าอย่างต่อเนื่องทุกปีและนายจ้างสามารถนำเงินเข้า เสร็จสิ้นก่อนวันที่ระบุในใบคำขอได้
แนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯแนวปฎิบัติในการนำเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้าง(เงินประเดิม)เข้ากองทุนฯ สิทธิประโยชน์ทางภาษี กรณีนำเงินประเดิมเข้าครั้งเดียว ให้นำมาหักค่าใช้จ่ายได้ 5 ปี ปีละเท่าๆ กัน กรณีทยอยนำเงินเข้าภายใน 10 รอบระยะเวลาบัญชี ให้นำมาหักค่าใช้จ่ายได้ 10 ปี