1 / 26

MRCF การลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี

MRCF การลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี. สำนักงานเกษตรอำเภอห้วยกระเจา มีนาคม 2557. ข้อมูลทั่วไป. อำเภอห้วยกระเจาเดิมเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอพนมทวน

ulla-sears
Download Presentation

MRCF การลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MRCF การลดต้นทุนการผลิตข้าวอำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานเกษตรอำเภอห้วยกระเจา มีนาคม 2557

  2. ข้อมูลทั่วไป อำเภอห้วยกระเจาเดิมเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี การติดต่อราชการเป็นไปด้วยความลำบาก เนื่องจากมีระยะทางไกล การสัญจรไปมาไม่สะดวก กระทรวงมหาดไทย จึงได้ประกาศฐานะตั้งเป็นกิ่งอำเภอห้วยกระเจา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่วันที่ 11 ตุลาคม 2537 อำเภอห้วยกระเจา แบ่งการปกครองออกเป็น 4 ตำบล 73 หมู่บ้าน

  3. อำเภอห้วยกระเจา ที่ตั้งและอาณาเขต อ.ห้วยกระเจา ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ จ.กาญจนบุรี ห่างจากจังหวัดเป็นระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 314,802 ไร่ มีพื้นที่ทางการเกษตร จำนวน 246,770 ไร่ อ.เลาขวัญ อ.อู่ทอง อ.บ่อพลอย อาณาเขตติดต่อทิศเหนือ ติดกับ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ทิศใต้ ติดกับ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดกับ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ทิศตะวันตก ติดกับ อ.บ่อพลอยจ.กาญจนบุรี อ.พนมทวน

  4. อำเภอห้วยกระเจา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลาดชัน 5 เปอร์เซ็นต์ในตำบลห้วยกระเจา วังไผ่ สระลงเรือ และดอนแสลบบางส่วน และมีที่ราบลุ่มในเขตชลประทาน ได้แก่ ตำบลสระลงเรือบางส่วน และตำบลดอนแสลบบางส่วน

  5. อุณหภูมิ อำเภอห้วยกระเจามีฝนตกน้อย ขาดความชื้นในอากาศ ทำให้อุณหภูมิในภาพรวมค่อนข้างสูง อุณหภูมิเฉลี่ย สูงสุด 42 องศาเซลเซียส ต่ำสุด 34 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย 38 องศาเซลเซียส

  6. อำเภอห้วยกระเจาฝนตกน้อย เฉลี่ยปีละประมาณ 59.54 ม.ม. ตารางแสดงปริมาณน้ำฝน ปี 2556 - 2557

  7. แผนที่แสดงความเหมาะสมของดินในการปลูกพืช อำเภอห้วยกระเจา

  8. แผนที่แสดงภัยธรรมชาติ (ภัยแล้งซ้ำซาก) อำเภอห้วยกระเจา

  9. C R + วิเคราะห์ปัญหา การคัดเลือกพื้นที่ ตำบลดอนแสลบ หมู่ที่ 7 บ้านหนองปลิง สินค้า : ข้าว เทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร ข้อมูลการผลิต ต้นทุนการผลิต ข้อมูลชุดดิน ข้อมูลแหล่งน้ำ และชลประทาน ข้อมูลเทคโนโลยีการผลิต

  10. ตารางเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตข้าวนาปรัง ปี 2556ต.ดอนแสลบ & ต.สระลงเรือ

  11. เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตข้าวนาปรัง ปี 2556ต.ดอนแสลบ & ต.สระลงเรือ

  12. ข้อมูลการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายภายในตำบลข้อมูลการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายภายในตำบล สัญลักษณ์ ศบกต. ม.1 ศจช. ม.4 ม.12 ศูนย์ข้าวชุมชน ม.4 ม.5 จุดผลิตสารชีวภัณฑ์ม.4 , ม.5 , ม.7 , ม.9 Smart Farmer นายอำนาจ ตาซุ่ย ม.5 นายวสิน บัวดีหมอดินอาสา ม.21 นายวีนัส แต่แดงเพ็ชร จุดเรียนรู้พัฒนาที่ดินการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยน้ำชีวภาพ ม.7 , 21

  13. แผนที่ความเหมาะสมการปลูกข้าวต.ดอนแสลบ อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี

  14. ดำบลดอนแสลบ ชุดดิน 15/20 และดินชุด 44B, 44C/56C/6246C ดินร่วนปนทรายสีน้ำตาลเข้มปนเทา หรือสีน้ำตาลปนเทา การระบายน้ำไม่ดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เหมาะสมกับการปลูกพืชไร่อายุสั้น และปลูกข้าวในบางส่วน

  15. แผนที่หมู่บ้านหนองปลิง หมู่ที่ 7 ตำบลดอนแสลบ อำเภอห้วยกระเจา ข้อมูลทั่วไป ม.7 บ้านหนองปลิง

  16. การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคีการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคี c หน่วยงานภาคี 1. เกษตรกร 2. อกม. 3.ศบกต. 4. อปท. 5. พัฒนาที่ดิน 6. กรมการข้าว 7. พัฒนาชุมชน 8. ศูนย์บริหารศัตรูพืช จ.สุพรรณบุรี 9. สาธารณสุข สรุปปัญหาจากการจัดเวทีชุมชน1. ต้นทุนการผลิตข้าวต่อไร่สูง 2. เมล็ดพันธุ์ข้าวปน 3. ปุ๋ยเคมีและสารเคมีมีราคาแพง 4. โรคและแมลงศัตรูพืชระบาด 5. ดินเสื่อมโทรม 6. ภัยแล้ง การสังเคราะห์ข้อมูล 1. ต้นทุนการผลิตสูง 2. ใช้พันธุ์ข้าวอ่อนแอ เกิดโรคแมลง 3. ใช้เมล็ดพันธุ์มากเกินความจำเป็น 4. ขาดการปรับปรุงบำรุงดิน ดินเสื่อมสภาพ 5. ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีมาก ผลผลิตไม่ปลอดภัย ผู้ผลิตเสี่ยงต่อการเกิดโรค แมลงศัตรูธรรมชาติถูกทำลาย 6. ไม่ได้ทำนาแบบปราณีต F กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร การลดต้นทุนการผลิตข้าว

  17. นางณัฐชา โตแก้ว บ้านเลขที่ 318 ม.7 ต.ดอนแสลบ พื้นที่ปลูก 7 ไร่ x 586228 y 1581867 ข้อมูลเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนเกษตรกรบ้านหนองปลิง ม. 7 ต.ดอนแสลบ X 585935 y 1582098 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 17 ราย

  18. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรข้าว ครั้งที่ 1 ดินและการเตรียมดิน พันธุ์ข้าวและการเตรียมพันธุ์ข้าว ครั้งที่ 2 การจัดทำปฏิทินการจัดการในนาข้าว และการบันทึกต้นทุนการผลิต ครั้งที่ 3 วัชพืชและการป้องกันกำจัดวัชพืช ครั้งที่ 4 ระบบนิเวศในนาข้าว การสำรวจตรวจนับแมลง ครั้งที่ 5 การจัดการข้าวในระยะต่างๆ ครั้งที่ 6 ศัตรูธรรมชาติ ศัตรูข้าว และโรคข้าว ครั้งที่ 7 การจัดการศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสาน ครั้งที่ 8 การใช้และการผลิตสารชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูข้าว ครั้งที่ 9 การใช้ปุ๋ยเคมีและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 10 การใช้และการผลิตฮอร์โมนและสมุนไพรกำจัดแมลงศัตรูข้าว ครั้งที่ 11 การจัดการน้ำในนาข้าว ครั้งที่ 12 การจัดการข้าววัชพืช ข้าวดีด และข้าวปน ครั้งที่ 13 การใช้และการผลิตปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ครั้งที่ 14 การจัดทำแปลงพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ครั้งที่ 15 การจัดการข้าวก่อนการเก็บเกี่ยว ครั้งที่ 16 การจัดการข้าวหลังการเก็บเกี่ยว

  19. เป้าหมาย F -เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ไร่ละ1,000 – 1,500 บาท -เกษตรกรจำนวน17คน สามารถลดต้นทุนได้ทุกคน คิดเป็น100% ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ ลดการใช้สารเคมี ลดการใช้ปุ๋ยเคมี การคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว การใช้สารชีวภัณฑ์ การตรวจนับแมลง การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยพืชสด

  20. ผลลัพธ์ F สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรปรับวิถีการผลิตเพื่อลดต้นทุน ผลลัพธ์1. ผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมปลอดภัย 2. สร้างความสมดุลระบบนิเวศ 3. ขยายผลให้กับเกษตรกรทั่วไป 4. เกษตรกรมีความยั่งยืนในอาชีพ

  21. สวัสดี

More Related