1 / 153

Physics 207105 Thermodynamics-1

Physics 207105 Thermodynamics-1. อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)-1. อุณหพลศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงความร้อนเชิงมหภาคโดยอาศัยตัวแปรสถานะของระบบ เช่น ปริมาตร (V) อุณหภูมิ (T) และ ความดัน (P) เป็นต้น. อุณหภูมิและความร้อน กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์ การขยายตัวเชิงความร้อน.

willow
Download Presentation

Physics 207105 Thermodynamics-1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Physics 207105Thermodynamics-1

  2. อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)-1 อุณหพลศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงความร้อนเชิงมหภาคโดยอาศัยตัวแปรสถานะของระบบ เช่น ปริมาตร(V) อุณหภูมิ(T) และ ความดัน(P) เป็นต้น • อุณหภูมิและความร้อน • กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์ • การขยายตัวเชิงความร้อน

  3. + - + - + - - + • + - + - + - + - • - + - + - + + - • - + - + - + + - • - + - + - + + - • - + - + - + + - • - + - + + + - ของเหลว แก๊ส พลาสมา ของแข็ง เพิ่ม อุณหภูมิ อุณหภูมิ (Temperature : T) อุณหภูมิ • เป็นปริมาณที่สื่อให้เห็นว่าวัตถุนั้น ร้อน หรือ เย็น เพียงใด. ของแข็งและของเหลว จะประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากเชื่อมต่อกันด้วยระยะประมาณ10-10 m ด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า. ในสถานะของเหลว,แก๊สหรือพลาสมา อะตอมหรือโมเลกุล(รวมทั้งไอออน) จะมีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม

  4. การวัดอุณหภูมิ หน่วยวัดอุณหภูมิ และเทอร์โมมิเตอร์ สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales) องศาฟาเรนไฮต์ (degree Fahrenheit: 0F) นิยามจากช่วงอุณหภูมิที่สัตว์เลี้ยงในฟาร์มจะดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวเอง (0 0Fคือเย็นที่สุดและ100 0Fคือร้อนที่สุด) องศาเซลเซียสหรือเซลติเกรด (degree Celsius or Centigrade : 0C) นิยามจากคุณสมบัติของคุณสมบัติของน้ำที่ผิวโลก ณ ระดับน้ำทะเล(0 0C คือจุดเยือกแข็ง และ100 0C คือจุดเดือด) เคลวิน (Kelvin: K) นิยามจากจุดอุณหภูมิที่พลังงานระดับโมเลกุลมีค่าต่ำสุดซึ่งกำหนดเป็นศูนย์องศาสัมบูรณ์(Absolute zero) หรือ 0 K -273.150C สเกล 1 K =1 0C

  5. สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales) tF tC tK t tx

  6. สเกลของอุณหภูมิ (Temperature scales) สำหรับ ตัวแปรอุณภูมิเคลวินนิยามเขียนด้วย T จับคู่ 0C กับ 0F : จับคู่ 0C กับ K :

  7. เครื่องวัดอุณหภูมิ : เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิ T โดยใช้หลักการสมดุลทางความร้อน (Thermal equilibrium) • สมบัติของเทอร์โมมิเตอร์ • ความไวสูง • แม่นยำ • ผลิตง่าย • เข้าสู่สมดุลทางความร้อนได้เร็ว “สสารทุกชนิด จะไม่มีการถ่ายเทความร้อนซึ่งกันและกัน เมื่อสสารเหล่านั้นมีอุณหภูมิหรือระดับความร้อนเท่ากัน”

  8. ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์

  9. ตัวอย่างชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ตัวอย่างชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ แบบของเหลวบรรจุในหลอดแก้วยาว แบบแก๊สปริมาตรคงที่

  10. ตัวอย่าง: มาตรอุณหภูมิฟาเรนไฮต์อันหนึ่ง ซึ่งมีจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน้ำเป็น 32 และ 212oF ตามลำดับ อ่านอุณหภูมิของน้ำในภาชนะใบหนึ่งได้เท่ากับ 122oF จงหาอุณหภูมิของน้ำในภาชนะใบนั้นเป็นองศาเซลเซียสและเคลวิน

  11. กฎข้อที่ศูนย์ทางอุณหพลศาสตร์(The zeroth law of thermodynamics) “ถ้าระบบสองระบบต่างอยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนกับระบบที่สามแล้ว ระบบทั้งสองนี้ต่างก็อยู่ในภาวะสมดุลทางความร้อนซึ่งกันและกันด้วย” • ถ้าอุณหภูมิที่ A เท่ากับที่ C • และอุณหภูมิที่ C เท่ากับที่ B • อุณหภูมิที่ A จะเท่ากับที่ B

  12. ตัวกลาง (mediums) ตัวกลางแอเดียแบติก (adiabatic medium; A; ) คือตัวกลางสมมติที่ไม่ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้เลย เช่น ฉนวน ตัวกลางไดอะเทอร์มิก (diathermic medium; D; ) คือตัวกลางสมมติที่ยอมให้พลังงานความร้อนผ่านได้ดี เช่น โลหะตัวนำ A S3 D S1 S2 D D A S1 S2 The zeroth law of thermodynamics

  13. The zeroth law of thermodynamics ระบบ 2 ระบบที่อยู่ในสมดุลความร้อนย่อมมีอุณหภูมิเท่ากัน

  14. หลักการเทอร์โมมิเตอร์ : สมดุลความร้อน(อุณหภูมิเท่ากัน) • ถ้าเราวางวัตถุที่ร้อนให้สัมผัสกับวัตถุที่เย็น วัตถุที่ร้อนก็จะเย็นตัวลง และวัตถุที่เย็นก็จะร้อนขึ้น • ในที่สุดความร้อนก็จะไม่มีการถ่ายเทระหว่างวัตถุทั้งสอง • เรียกว่าวัตถุทั้งสองอยู่ในสมดุลความร้อน • หรือ วัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน อุณหภูมิ • คือ การวัดว่าวัตถุนั้น มีความร้อน เย็น แค่ไหน • การบอกระดับความร้อนจากการสัมผัสมีข้อจำกัด และในหลายกรณีก่อให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย

  15. การขยายตัวเชิงความร้อน (Thermal Expansion) วัสดุส่วนใหญ่ขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน: • ระยะห่างระหว่างอะตอมเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น • การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิต้องไม่มากนัก (ไม่มากพอที่จะทำให้วัสดุมีการเปลี่ยนแปลงสถานะ)

  16. การขยายตัวของสารจากความร้อน (Thermal expansion) โดยทั่วไปการขยายตัวตามเส้นจะแปรตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง และผลของอุณหภูมิที่เปลี่ยนทำให้ขนาดของสารเปลี่ยนแปลง เช่นความยาวเปลี่ยนไป และจะได้ว่า ดังนั้นสามารถเขียนได้ว่า การขยายตัวตามเส้น เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามเส้น การขยายตัวตามพื้นที่ เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตามพื้นที่ การขยายตัวตามปริมาตร เมื่อ  คือ ส.ป.ส. การขยายตัวตาม ปริมาตร

  17. การขยายตัวของสารจากความร้อนการขยายตัวของสารจากความร้อน ขยายตัวตามพื้นที่ ขยายตัวตามปริมาตร ขยายตัวตามเส้น และ โดยทั่วไป

  18. การขยายตัวของสารจากความร้อนการขยายตัวของสารจากความร้อน

  19. ผลกระทบจากการขยายตัวเชิงความร้อนผลกระทบจากการขยายตัวเชิงความร้อน

  20. petrol 70 L steel ตัวอย่าง:แท็งก์เหล็กขนาดความจุ 70 ลิตร บรรจุน้ำมันไว้จนเต็ม ถ้าในวันหนึ่ง อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจากเดิม 20 oC ไปเป็น 35 oC. จะมีน้ำมันปริมาณเท่าใดที่จะล้นหกไป สำหรับของเหลว การเปลี่ยนแปลงปริมาตร : สำหรับแท็งก์โลหะ : เป็นปริมาณน้ำมันที่ล้นหกไป

  21. การประยุกต์ใช้งาน

  22. การขยายตัวของรูกลางวัตถุ

  23. Physics 207105Thermodynamics-2

  24. อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)-2 • พลังงานความร้อน • ความร้อนและการถ่ายเทความร้อน • ความจุความร้อน และ ความจุความ • ร้อนจำเพาะ • การถ่ายเทความร้อน

  25. พลังงานความร้อน (Thermal Energy) การทดลองของ จูล (James Pascott Joule; 1818–1889) ให้แนวคิด สมมูลเชิงกลความร้อน (Mechanical equivalent of heat) หรือ สมมูลของจูล (Joule’s equivalent) นับว่าเป็นจุดที่สำคัญที่เชื่อมระหว่างปริมาณความร้อนเข้ากับพลังงานความร้อนได้เป็นอย่างดี

  26. Mechanical equivalent of heat

  27. พลังงานกล พลังงานความร้อน ความร้อนและการถ่ายเทความร้อน (Heat and heat transfer) ความร้อน (Heat)คือรูปหนึ่งของพลังงานที่ส่งผ่านเนื่องจากผลต่างระหว่างอุณหภูมิ • หน่วยของความร้อน • คาลอรี(calorie : cal): 1 cal = ความร้อนที่ทำให้น้ำ 1 gm ณ 14.50Cมีอุณหภูมิสูงขึ้น 10C • BTU (British Thermal Unit) : 1 BTU = ความร้อนที่ทำให้น้ำ 1 pound มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 0F (630F ไปเป็น 640F) • ซึ่ง 1 BTU  1055 จูล 251.996 cal(1 pound  0.4536 kg) การทดลองของจูล (Joule) ค่าสมมูลย์ความร้อนกล (J) = 1 cal = 4.186 J

  28. ความจุความร้อนและความจุความร้อนจำเพาะ(Heat capacity and specific heat capacity) ความจุความร้อน คือ ความร้อนที่เปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิ : ทำให้เป็นปริมาณไม่ขึ้นกับมวล (intensive variable) โดยการหารด้วยมวล เรียกว่า ความจุความร้อนจำเพาะ (specific heat capacity) ในกรณีที่หารด้วยจำนวนโมล nจะได้ เรียกว่า ความจุความร้อนจำเพาะเทียบกับโมล (molar specific heat capacity) ทั้งค่า Cและ cจะไม่คงที่ โดยจะขึ้นกับอุณหภูมิ T

  29. ตัวอย่างความจุความร้อนตัวอย่างความจุความร้อน จำเพาะของของแข็งต่าง ๆ การวัดค่าความจุความร้อน การหาค่าความจุความร้อนสามารถทำได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Calorimeter ฉนวน กระป๋อง ขดลวดต้านทาน ในกรณีให้ความร้อนจากไฟฟ้าจะได้ว่า พลังงานไฟฟ้าที่ให้ = (mcT)ของเหลว+ (mcT)กระป๋อง โดยการชั่งมวลและวัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง จะสามารถหาค่าความจุความร้อนจำเพาะ cได้

  30. นม กาแฟ ตัวอย่าง: ต้องเติมนมที่มีอุณหภูมิ 4oC ปริมาณเท่าใดลงในกาแฟ 0.25 kg ที่มีอุณหภูมิ 95oC เพื่อให้ได้อุณหภูมิสุดท้ายเป็น 70oC (ถ้าพิจารณาให้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแก้วกาแฟมีน้อยมาก) วิธีทำ ให้ ccoffee = cwater = cmilk =4180 J/kg-C HLoss = HGain ความร้อนของกาแฟที่ลดลง =ความร้อนของนมที่เพิ่มขึ้น

  31. ก่อนใส่ 120 g 205 oC หลังใส่ 20 oC 1.5 kg TF = ? NOTE:อุณหภูมิของน้ำ 3 oC อุณหภูมิของก้อนอลูมิเนียม 182 oC ตัวอย่าง : เมื่อใส่ก้อนอะลูมิเนียมมวล 120 กรัม ลงใน แคลอรีมิเตอร์ ที่มีน้ำ อุณหภูมิ 20oC อยู่ 1.5 กิโลกรัม ถ้าก่อนใส่ก้อนอะลูมิเนียมมีอุณหภูมิ เท่ากับ 205oC ให้หาว่าสุดท้ายแล้วอุณหภูมิของน้ำจะเป็นเท่าใดกำหนด cAl = 900 J/kg.oC-1 วิธีทำ HLoss = HGain ความร้อนของก้อนอะลูมิเนียมที่ลดลง = ความร้อนของน้ำที่เพิ่มขึ้น

  32. ความร้อนแฝง (Latent heat; L) • ความร้อนแฝงคือ ความร้อนที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสาร • จากของแข็งเป็นของเหลว : ความร้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion) • จากของเหลวเป็นแก๊ส : ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent heat of vaporization) • ณ จุดที่เปลี่ยนสถานะอุณหภูมิคงที่ ความร้อนที่ให้จะไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะ แก๊ส (G) ของเหลว (L) (L)+(G) (L)+(S) ของเหลว (L) ของแข็ง (S) กลายเป็นไอ(เดือด) หลอมเหลว

  33. ความร้อนแฝง (Latent heat; L) นิยาม หรือ ความร้อนแฝงของการหลอม ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เมื่อ m คือ มวลของระบบ Lf และ Lvคือ ความร้อนแฝงจำเพาะ (specific latent heat)ของการหลอมเหลวและการกลายเป็นไอตามลำดับ ตัวอย่าง สำหรับน้ำ

  34. Graph of Ice to Steam A=Warming Ice B=Melting Ice C=Warming Water D=Boiling Water E=Heating Steam

  35. น้ำแข็ง 0 oC, 20 g 20 oC, 500 g 20 oC, 100 g ตัวอย่าง:ใส่ก้อนน้ำแข็งมวล 20กรัมที่มีอุณหภูมิ 0oC ลงในกระป๋องแคลอรีมิเตอร์ที่ทำจากทองแดง ที่มีน้ำมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 20 oC โดยที่กระป๋องแคลอรีมิเตอร์มวล 500 กรัม ถ้ากระป๋องแคลอรีมิเตอร์ และ น้ำมีอุณหภูมิ 8oC ตอนที่น้ำแข็งละลายหมด จงหา Lfของน้ำแข็ง CW = 4180 J kg-1oC-1 Cc = 390 J kg-1oC-1 HG=HL

  36. การถ่ายเท (โอน) ความร้อน (Heat transferring) การถ่ายเทความร้อน • การนำความร้อน (conduction) • การพาความร้อน (convection) • การแผ่รังสีความร้อน (radiation)

  37. T2 Q T1 T1 > T2 การนำความร้อน adiabatic สถานะคงที่ (steady state) : t  อัตราการส่งผ่านความร้อนไม่เปลี่ยนตามเวลา

  38. T2 Q T1 T1 > T2 การนำความร้อน Temperature gradient = ที่ steady state : หรือ กล่าวคือ หรือ ดังนั้น เรียก ว่าเป็นอัตราการถ่ายเทปริมาณ ความร้อน (Rate of heat flow หรือ Heat current) กฎการนำความร้อนของฟูเรียร์ (Fourier’s heat conduction law) นั่นคือ เมื่อค่าคงที่ k คือ ส.ป.ส. การนำความร้อน(สภาพนำความร้อน): Watt/m.K

  39. Q T1 T2 L การนำความร้อน สำหรับแท่งวัตถุพื้นที่หน้าตัด Aยาว Lขณะที่ปลายร้อนเป็น T1ส่วนที่ปลายเย็นเป็น T2 ที่ steady state จะคำนวณ H ได้ดังนี้ เมื่อ Hมีค่าคงที่เนื่องจาก steady state ดังนั้น ได้ T1 > T2

  40. รอยต่ออุณหภูมิ Tx H x การนำความร้อน ผนังประกอบ (compound wall) ที่ steady state : Hคงที่ สำหรับ L1 : สำหรับ L2 : ถ้า A1 = A2 = A ได้ T2 > T1 รูปแบบทั่วไปสำหรับหลายผนังประกอบ คือ

  41. L การนำความร้อน ทรงกระบอกกลวง ภายใน: รัศมี r1, อุณหภูมิ T1 ภายนอก:รัศมี r2, อุณหภูมิ T2 โดย T1 > T2 ที่รัศมี rใด ๆ ในโลหะ พื้นที่ที่ส่งผ่านความร้อน ณ ที่ rใด ๆ คือ A = 2 r L ดังนั้น

  42. การพาความร้อน การพาความร้อนเป็นกระบวนการถ่ายโอนพลังงานความร้อนผ่านของไหล - การพาอย่างอิสระ (natural/free convection) - การพาอย่างไม่อิสระ (forced convection) ทั้งสองลักษณะขึ้นกับ 1. รูปลักษณะผิววัตถุ 2. ผิววัตถุอยู่แนวดิ่งหรือราบ 3. ตัวกลางที่พาความร้อน(เหลวหรือแข็ง) 4. ความหนาแน่น ความหนืด ความร้อนจำเพาะ สภาพนำความร้อนของตัวกลาง 5. ตัวกลางเคลื่อนที่แบบสม่ำเสมอหรือวกวน 6. ขณะพาความร้อน ตัวกลางเปลี่ยนสถานะหรือไม่

  43. การพาความร้อน การระเหย เป็นการพาความร้อนในลักษณะหนึ่ง น้ำ จะต้องใช้พลังงานในการระเหย = 241 J/gm ที่ 37 0C ตัวอย่าง ผิวหนังและปอดของมนุษย์ จะระเหยน้ำประมาณ 600 gm/วัน คำนวณหาอัตราความร้อนที่สูญเสีย ในการระเหย น้ำ 1 gm จะใช้พลังงาน 241 J วิธีทำ น้ำ 600 gm จะใช้พลังงานในการระเหย =1.45105 J ตอบ *เมตาบอริซึมคนปกติ  120 Watt ดังนั้นน้ำระเหย 600 gm/วัน  1% metabolism

  44. การแผ่รังสีความร้อน EMW: คลื่นวิทยุ-โทรทัศน์, microwave, infrared, light, UV, X-ray, gamma กำหนดให้ อัตราการแผ่รังสี = Re (e: emission , ปลดปล่อย) และ RA Te4 เมื่อ A = พื้นที่ผิวของวัตถุ Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน เขียน กฏของสเตฟาน-โบลต์ซมานน์ เมื่อ  = Stefan-Boltzmann constant = 5.6710-8 W/m2-K4  = สภาพเปล่งรังสี (emissitivity) ; มีค่า 0 ถึง 1 = ความสามารถในการแผ่รังสีของวัตถุ

  45. การแผ่รังสีความร้อน วัตถุตั้งในสิ่งแวดล้อมอุณหภูมิ Taวัตถุจะดูดกลืนรังสีจากสิ่งแวดล้อม (a: absorption , ดูดกลืน)  : (0-1) เมื่อ Ra = อัตราการดูดกลืนรังสีของวัตถุ Ta = อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม, เคลวิน, Te = อุณหภูมิของวัตถุ : เคลวิน Te > Taอุณหภูมิวัตถุลดลง , Re > Ra ถ้า Te < Taอุณหภูมิวัตถุเพิ่มขึ้น , Re < Ra ปริมาณสุทธิที่วัตถุได้รับพลังงาน ดูด Rเป็นลบ อุณหภูมิของวัตถุจะเพิ่ม R = Re - Ra แผ่ Rเป็นบวก อุณหภูมิของวัตถุจะลด

  46. ตัวอย่าง: จงหา Qที่ทำให้น้ำแข็ง 250 g ที่ 00C กลายเป็นน้ำหมดและสุดท้ายน้ำ 10 g เดือดกลายเป็นไอ (กำหนด cน้ำ= 4.2 kJ/kg-K, Lm=334 kJ/kg, Lv=2260 kJ/kg) วิธีทำ น้ำแข็งน้ำที่ 00C: น้ำที่ 00C น้ำ 1000C: น้ำ 10 gไอน้ำ 1000C : ดังนั้น ความร้อนทั้งหมดที่ต้องใช้ เท่ากับ 83.5 kJ + 105 kJ + 22.6 kJ = 211.1 kJ

  47. ตัวอย่าง : แผ่นทองเหลือง 2 แผ่น แต่ละแผ่นมีความหนา 0.5 cm ระหว่างแผ่นทั้งสองมีแผ่นยางวางกั้นอยู่เป็นแซนวิชหนา 0.1 cm ผิวนอกของแผ่นหนึ่งมีอุณหภูมิ 00C และผิวนอกของอีกแผ่นมีอุณหภูมิ 1000C จงหาค่าอุณหภูมิที่ผิวทั้งสองของแผ่นยางที่ถูกประกบอยู่โดยสมมติให้การถ่ายเทความร้อนเป็นแบบมิติเดียว สภาวะคงตัว และ ขนาดพื้นที่หน้าตัดขวางของแผ่นทองเหลืองและยางมีค่าเท่ากัน (กำหนดให้สภาพการนำความร้อนของทองเหลืองมีค่า 490 เท่าของสภาพนำความร้อนของแผ่นยาง) 0.5cm 0.5cm 00C 1000C ยาง ทองเหลือง 0.1cm

  48. วิธีทำ กำหนดที่ผิวแผ่นยางทั้งสองด้านมีอุณหภูมิ T1และ T2 ณ ที่สภาวะคงที่ ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างชั้นของวัสดุจะมีค่าเท่ากัน (ความร้อนขาเข้าจะเท่ากับความร้อนขาออก) ดังนั้น T1 T2 100C 0C จาก 1 และ 2 จะได้ และ จาก 2 และ 3 จะได้ จากการแก้สมการจะได้ว่า ตอบ

  49. Physics 207105Thermodynamics-3

  50. อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)-3 • กฎเกี่ยวกับแก๊ส • และทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

More Related