1 / 18

Moodle

Moodle. Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment. บทนำ. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์แต่เดิมการออกแบบและพัฒนาเว็บไปสู่การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บจะต้องอาศัยโปรแกรมในการพัฒนาหลายแบบ ได้แก่

Download Presentation

Moodle

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Moodle Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment

  2. บทนำ ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์แต่เดิมการออกแบบและพัฒนาเว็บไปสู่การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บจะต้องอาศัยโปรแกรมในการพัฒนาหลายแบบ ได้แก่ 1. การพัฒนาโดยอาศัยภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนเว็บ (Web Programming) เป็นการพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในลักษณะที่จะต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรม เช่น HTML , Perl , CGI, ASP, PHP, JSP , XML ฯลฯ 2.การพัฒนาโดยอาศัยโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการเขียนเว็บ (Web Authoring)เป็นการพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ที่ผู้ปฏิบัติสามารถสร้างเว็บได้ด้วยตนเอง อาศัยโปรแกรมสำเร็จรูปได้แก่ Macromedia Dreamweaver, Microsoft Frontpage , Namo Web Editor ฯลฯ

  3. บทนำ ดังนั้นจึงได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแต่เดิม โดยจัดทำเป็นระบบที่สมบูรณ์แบบติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย พร้อมทั้งมีโปรแกรมการสร้างเว็บสำเร็จรูปติดตั้งมาด้วยกับระบบในรูปแบบของการออนไลน์ ทำให้การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บทำได้อย่างรวดเร็วขึ้นสิ่งที่สำคัญก็คือระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS เกือบทั้งหมดพัฒนาขึ้นโดยการใช้โปรแกรมเว็บในลักษณะที่เป็นแบบเปิดเผยซอร์สโค้ด หรือที่เรียกว่า Open Source Code ทำให้ผู้ที่ประสงค์จะทำการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมระบบใด ๆ เข้าสู่ LMS ก็สามารถทำได้โดยอิสระ

  4. LMS : Learning Management System เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนตั้งแต่เนื้อหาการลงทะเบียนการเก็บข้อมูลการจัดกิจกรรม การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่นกระดานข่าวห้องสนทนาอภิธานศัพท์ วิกิ เป็นต้นซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชามีคลังข้อสอบและระบบบริหารจัดการรายวิชา โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนผู้สอนและผู้ดูแลระบบ โปรแกรมประเภทนี้อาทิ Moodle , Atutor , Learn Square , Caroline , WebCT

  5. CMS : Content Management System เป็นระบบจัดการเนื้อหาและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลเหมือน LMS ผู้ดูแลสามารถจัดการบริหารเพิ่มเติมเนื้อหาติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเองเช่น Mambo , Joomla, Drupal, Xoops, PHP Nuke, Post Nuke, Thai Nuke etc..

  6. ความแตกต่างระหว่าง LMS/CMS • LMS • ระบบสมาชิก • Admin • Teacher • Student • ระบบการเรียนการสอน • ระบบแบบทดสอบ • ระบบกิจกรรม • CMS • ระบบสมาชิก • Admin • Author • User • ระบบการจัดการเนื้อหา

  7. ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ • การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Web-Based Instruction • E-Learning : Web • LMS : Moodle , Caroline • CMS : Mambo , Joomla, PHP nuke, Xoops , Drupal • LCMS : A-Tutor

  8. Moodle • Moodle ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment เป็นชุดโปรแกรมสำหรับ ช่วยผู้สอน สร้างหลักสูตร และเปิดสอนบนเว็บไซต์ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต สามารถนำไปใช้ได้ทั้ง มหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ

  9. Moodle • ผู้พัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas โปรแกรมชุดนี้เป็น Open source ภายใต้ข้อตกลงของ GNU.ORG (General public license) สามารถ download ได้ฟรี

  10. Moodle ความสามารถของ moodle โดยสรุป • เป็น open source ที่ได้รับการยอมรับ • สามารถเป็นทั้ง CMS และ LMS ช่วยสร้างเนื้อหาโดยครูและบริการให้นักเรียนเข้ามาเรียนได้ • สามารถนำเอกสารที่ทำไว้เพิ่มเข้าไปได้ เช่น word, power point, excel, webpage, pdf หรือ image เป็นต้น • มีระบบติดต่อสื่อสารกับนักเรียน หรือระหว่างครูด้วยกัน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น • มีระบบแบบทดสอบและรับการบ้านสามารถตรวจการบ้านและให้คะแนนโดยอัตโนมัติ • สามารถเก็บงานทั้งหมดที่อาจารย์ลงแรงทำไปเป็น .zip แฟ้มเดียว อนาคตสามารถนำไปติดตั้งเครื่องที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องเริ่มต้นใหม่

  11. ส่วนประกอบของ Moodle Moodle จะประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ ที่สำคัญ 3 ส่วนคือ 1. การจัดการระบบ 2. ส่วนแสดงเนื้อหา 3. ส่วนกิจกรรม

  12. Moodle • ผู้เข้าใช้ระบบมีบุคคล 4 ประเภท • ผู้ดูแล(admin)ติดตั้งระบบบำรุงรักษากำหนดค่าเริ่มต้นและกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน • ผู้สอน(teacher)เพิ่มเนื้อหาเพิ่มข้อสอบให้คะแนนตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียนตอบคำถามและสนทนากับนักเรียน • ผู้เรียน(student)เข้าเรียนหัวข้อต่าง ๆ ทำแบบฝึกหัดตามที่ได้รับมอบหมาย • ผู้มาเยี่ยม(guest)เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาตและไม่มีสิทธิ์ทำแบบทดสอบใด ๆ

  13. Moodle ผู้สอนสามารถเพิ่มสิ่งต่อไปนี้ในแต่ละบทเรียนหรือสัปดาห์ • Chat (ห้องสนทนาพูดคุยกันได้) • Glossary (รวมคำศัพท์จัดหมวดหมู่ได้ยอดเยี่ยมสามารถสืบค้นได้) • Label (ป้ายประกาศไม่สามารถ click ได้) • Lesson (บทเรียนให้พิมพ์แยก page title, page contents, answer และ response) • กระดานสนทนา(กระดานข่าวหรือwebboard)

  14. Moodle ผู้สอนสามารถเพิ่มสิ่งต่อไปนี้ในแต่ละบทเรียนหรือสัปดาห์ • 6. การบ้าน(ให้พิมพ์งานใส่ word มา upload ได้) • 7. ตัวเลือก(คือการลงคะแนน vote จากคำถาม 1 ข้อและมีตัวเลือกให้) • 8. สัมมนา(เน้นกิจกรรมและองค์ประกอบต่างๆหลายเรื่อง) • 9. วารสาร(ให้นักเรียนเข้ามาเขียนวารสารและมีคะแนนให้ตามหัวเรื่อง) • 10. แบบทดสอบ(สร้างคลังข้อสอบเป็น 1000 ข้อแล้วเลือกมาให้ทำ 100 ข้อระบบจะสุ่มให้นักศึกษาทำอัตโนมัติ) • 11. แบบสำรวจ(essay หรือ choice) • 12. แหล่งข้อมูล(text, html, upload, weblink, webpage หรือ program)

  15. Moodle กิจกรรมของผู้สอน • 1. สมัครสมาชิกด้วยตัวเอง • 2. รออนุมัติการเป็นสมาชิกและสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง • 3. รอผู้ดูแลกำหนดสิทธิ์ในการเป็นผู้สอนหรือผู้สร้างคอร์ส • 4. ผู้สอนสร้างคอร์สและกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง • 5. เพิ่มเอกสารบทเรียนและลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม • 6. ประกาศข่าวสารหรือนัดสนทนากับนักเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • 7. สามารถสำรองข้อมูลทั้งหมดที่เคยใส่เข้าไปใน server เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้ • 8. สามารถนำข้อมูลที่สำรองกลับมากู้คืนที่ server เครื่องเดิมหรือเครื่องใหม่

  16. Moodle กิจกรรมของผู้สอน • 9. สามารถ download คะแนนนักเรียนจากการทำกิจกรรมไปใช้ใน excel ได้โดยง่าย • 10. กำหนดกลุ่มให้กับนักเรียนเป็นกลุ่มเป็นห้องเป็นชั้นปีเพื่อสะดวกในการคิดเกรดคะแนนหรือสื่อสารเป็นต้น • 11. สั่งยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชาของนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เหมาะสมหรือเข้าผิดวิชา • 12. ดูกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคนเช่นความถี่ในการอ่านแต่ละบทหรือคะแนนในการสอบแต่ละบทเป็นต้น • 13. ดูผลการทำแบบทดสอบของนักเรียนทุกคนหรือยกเลิกการทำข้อสอบในบางครั้งของนักเรียนบางคนได้

  17. Moodle กิจกรรมของผู้เรียน • สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง • 2.สมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง • 3. อ่านเอกสารหรือบทเรียนที่ผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลาที่เหมาะสม • 4. ฝากคำถามหรือข้อคิดเห็นหรือนัดสนทนาระหว่างเพื่อนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • 5. ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายเช่นทำแบบฝึกหัดหรือส่งการบ้านเป็นต้น • 6. แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้ • 7. อ่านประวัติของครูเพื่อนนักเรียนในชั้นหรือในกลุ่ม

  18. วิธีการใช้งาน Moodle • แบบ Offline • การจำลองเครื่องด้วย AppServ • การติดตั้งฐานข้อมูลด้วย PHP MyAdmin • แบบ Online • การติดตั้ง Moodle ใน Server • การติดตั้งฐานข้อมูล • การติดตั้งค่าต่าง ๆ เพื่อใช้งาน

More Related