1 / 44

ทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

ทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ASEAN Factsheet. อาเซียนถือกำเนิดที่ประเทศไทย ในปี 2510 สมาชิกผู้ก่อตั้ง ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์. สมาชิกเพิ่มเติม

Download Presentation

ทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียนทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

  2. ASEAN Factsheet • อาเซียนถือกำเนิดที่ประเทศไทย ในปี 2510 สมาชิกผู้ก่อตั้ง • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ • สมาชิกเพิ่มเติม • + บรูไนฯ ปี 2527 • + เวียดนาม ปี 2538 • + ลาว ปี 2540 • + พม่า ปี 2540 • + กัมพูชา ปี 2542

  3. ประเด็นท้าทายของอาเซียนประเด็นท้าทายของอาเซียน ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา การพัฒนา สถาบันการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ประชาคมอาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค

  4. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • เป็นการจัดโครงสร้างของอาเซียนใหม่ โดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทำงานภายในอาเซียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น

  5. สาขาความร่วมมือของอาเซียนสาขาความร่วมมือของอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม

  6. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง(ASEAN Political-Security Community) เป้าหมาย เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความ ไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

  7. คุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคงคุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคง มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน สร้างความแข็งแกร่งแก่ประชาธิปไตย ส่งเสริมธรรมา ภิบาล และหลักนิติธรรม ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยระลึกถึงสิทธิและความรับผิดชอบของรัฐสมาชิกอาเซียน

  8. คุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ต่อ) มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ แก้ปัญหาความมั่นคง - ยึดมั่นกับหลักการความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ และคํานึงถึงความมั่นคงในรูปแบบใหม่ - การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ การทูตเชิงป้องกัน และการสร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตร และรวมตัวกับประชาคมโลก - ความเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อน ARF

  9. สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia– TAC)

  10. Southeast Asia Nuclear Weapon Free Zone สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

  11. (ASEAN Regional Forum : ARF) การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (สมาชิก 26 ประเทศ + สหภาพยุโรป) ขั้นตอนที่ 1 การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ขั้นตอนที่ 2 การป้องกันความขัดแย้ง (การทูตเชิงป้องกัน) ขั้นตอนที่ 3 การแก้ไขความขัดแย้ง

  12. ประเด็นอาชญากรรมข้ามชาติประเด็นอาชญากรรมข้ามชาติ ยาเสพติด การฟอกเงิน การก่อการร้าย การค้ามนุษย์ การลักลอบขนอาวุธ การปล้นสะดมภ์ในทะเล อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

  13. สรุปร่างแผนงานการจัดตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Political Security Community Blueprint) (1) การพัฒนาทางการเมืองเช่น ส่งเสริมประชาธิปไตย (2) สร้างบรรทัดฐานร่วมกันในด้านต่างๆ เช่น ไม่สะสมอาวุธนิวเคลียร์ ไม่ใช้กำลังในการแก้ไขปัญหา (3) ป้องกันความขัดแย้ง (4) การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (5) การส่งเสริมสันติภาพและฟื้นฟูบูรณะ

  14. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community) เป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนของประเทศสมาชิกมีการค้าขายระหว่างกันมากขึ้น มีการไปมาหาสู่กันได้อย่างสะดวก และมีศักยภาพ ในการแข่งขัน

  15. เปรียบเทียบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปรียบเทียบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  16. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ปี 2015 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 16

  17. คุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจคุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจ

  18. คุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจคุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจ

  19. AEC การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการโดยเสรี ด้านบริการ ยกเลิกข้อจำกัดในการประกอบการด้านการค้า บริการในอาเซียน โดยอาเซียนได้เห็นชอบเป้าหมายการเปิดเสรี ภาคบริการทุกสาขาภายในปีค.ศ.2015 โดยทยอยเพิ่มสัดส่วน การถือหุ้นต่างชาติและการลดอุปสรรคข้อจำกัดอื่นๆ ในการ ประกอบกิจการ รวมทั้งการเดินทางไปทำงานต่างประเทศ ของระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ และวิชาชีพ

  20. อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128 สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาย่อยได้ 20

  21. อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้นอาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ *ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป 21

  22. AECสาขาเร่งรัดการรวมตัว 12 สาขา ท่องเที่ยว สินค้าเกษตร สินค้าประมง ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ ยาง สิ่งทอ การบิน อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ และลอจิสติกส์

  23. ทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียนทำไมต้องใส่ใจเกี่ยวกับอาเซียน

  24. ความสำคัญของอาเซียนต่อไทยความสำคัญของอาเซียนต่อไทย การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนส่งผลให้อาเซียนเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของไทยตั้งแต่ 2545 และเป็นแหล่งนำเข้าอันดับที่ 2 ตั้งแต่ปี 2540 จนถึงปัจจุบัน (รองจากญี่ปุ่น) ไทยเกินดุลการค้ากับอาเซียนนับตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบัน มีมูลค่าการค้าระหว่างกัน 59,250 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 21.3 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้าถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 20% ของการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด) และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลปี 2552) นักท่องเที่ยว 4 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 30% ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด(มาเลเซียมาไทยมากที่สุด)

  25. ตัวอย่างโอกาสจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตัวอย่างโอกาสจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  26. อุตสาหกรรม การค้า บริการ และ การท่องเที่ยว รวมทั้ง ตลาดแรงงาน จะขยายตัวมากขึ้น สามารถเป็นทั้งโอกาสและข้อจำกัด ขึ้นอยู่กับความสามารถในการยกระดับและการพัฒนาความสามารถของผู้ประกอบการไทย

  27. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมASEAN Socio-Cultural Community ASCC เป้าหมาย เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่มีเอกภาพ มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความเป็นอยู่ที่ดี พัฒนาทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม

  28. คุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมคุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนามนุษย์ เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ ความยุติธรรมและสิทธิ คุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ

  29. องค์ประกอบประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ) ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

  30. แหล่งที่มา: *The World Bank (2009 estimates) ** The World Bank (2010 estimates) *** UNdata (2008 estimates)

  31. ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน

  32. ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากอาเซียนประโยชน์ที่ไทยได้รับจากอาเซียน

  33. ใครบ้างที่จะได้รับผลกระทบจาก AEC ? ผู้ค้า เกษตรกร ผู้บริโภค แรงงาน ประชาชน นักธุรกิจ นักวิชาชีพ

  34. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังอาเซียน สามารถนำเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสำเร็จรูป จากอาเซียนที่มีความได้เปรียบกว่าด้านราคา/คุณภาพ โอกาสส่งออกสินค้าที่เคยมีภาษีสูงไปยังตลาดอาเซียน สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียนเข้ามาแข่ง ตลาดใหญ่ขึ้น: เกิด economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจบริการของอาเซียนจะเข้ามาแข่งในไทย แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายโดยเสรี แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า

  35. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) การลงทุนเสรีในอาเซียน ใช้ AEC เป็นฐานการผลิตร่วม สามารถย้ายฐานการผลิตทั้งหมด/บางส่วนไปยังอาเซียนอื่นที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เพื่อเสริมความสามารถแข่งขัน ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอกAEC คู่แข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่งในเขตแดนเราเพื่อมาใช้ความได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิตบางอย่าง ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง ต้นทุนโลจิสติกส์ของคู่แข่งในอาเซียนก็จะลดลงด้วย หากเขาดีกว่า ได้เปรียบด้านภาษีนำเข้าเมื่อเทียบกับสินค้าของประเทศคู่แข่งอื่นในตลาดคู่ค้าเหล่านี้ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6 นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีคู่แข่งเพิ่มจากประเทศ +3 หรือ +6

  36. สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่นสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ SMEs • สามารถนำเข้าวัตถุดิบจากอาเซียน ภาษี 0% • มีโอกาสขยายตลาดสินค้าและบริการในอาเซียน • มีโอกาสสร้างพันธมิตรธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน • คู่แข่งทางธุรกิจในอาเซียนมากขึ้น อาจถูกแย่งตลาดไป ธุรกิจภูมิปัญญาท้องถิ่น • สามารถนำเข้าวัตถุดิบจากอาเซียน ภาษี 0% • มีโอกาสขยายตลาดสินค้าและบริการในอาเซียน • มีโอกาสสร้างพันธมิตรกับผู้ประกอบการในอาเซียน • ความท้าทายในการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ ประชาชน • มีโอกาสเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียนมากขึ้น • โอกาสเลือกซื้อสินค้า บริการหลากหลาย ราคายุติธรรม • อาจได้รับผลกระทบจากสินค้าและบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน

  37. สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบสินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช • ผลไม้สดและแปรรูป อาหาร สินค้าหัตถกรรมเช่น ผ้าไหม ของตกแต่งบ้าน • สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์และชิ้นส่วน สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และ ชา (อินโดนีเซีย)

  38. บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบบริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว • อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพเช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก

  39. ประเด็นท้าทายจากอาเซียน… ชี้ประเด็นที่ไทยต้องเร่งเตรียมความพร้อม

  40. ปัญหาและอุปสรรค

  41. ขอขอบคุณ www.mfa.go.th/asean วิทยุสราญรมย์ รายการ « เราคืออาเซียน » ทุกวันอังคาร เวลา 17.30 – 18.00 น. AM 1575 KHz

More Related