1 / 20

Non-Agricultural Market Access: NAMA

Department of Trade Negotiations, Ministry of Commerce. Non-Agricultural Market Access: NAMA. Outline of Presentation. ปฏิญญารัฐมนตรีสมาชิก WTO (The Mandate) ประเด็นสำคัญในการเจรจา NAMA สถานะล่าสุดของการเจรจา กรอบเจรจาหลัก (core modality) อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs)

bian
Download Presentation

Non-Agricultural Market Access: NAMA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Department of Trade Negotiations, Ministry of Commerce Non-Agricultural Market Access: NAMA

  2. Outline of Presentation • ปฏิญญารัฐมนตรีสมาชิก WTO (The Mandate) • ประเด็นสำคัญในการเจรจา NAMA • สถานะล่าสุดของการเจรจา • กรอบเจรจาหลัก (core modality) • อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs) • การดำเนินการขั้นต่อไป • Q & A

  3. ปฏิญญารัฐมนตรีสมาชิก WTO ที่เมืองโดฮา ในส่วนที่เกี่ยวกับ NAMA ให้มีการปฏิบัติที่เป็นพิเศษและแตกต่างกับประเทศกำลังพัฒนา (Special & Differential Treatment: S&D)

  4. ประเด็นสำคัญในการเจรจา NAMA 1. Core Modality 2. Additional Elements 3. Exceptions สูตรการลดภาษี อุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี Preference Erosion สินค้าที่ยังไม่ได้ผูกพัน Small, vulnerable การลดภาษีรายสาขา Newly Acceded ความยืดหยุ่น LDCs

  5. สูตรการลดภาษี : ค่า coefficient จำนวนกี่ค่า และระดับเท่าใด? Implication: Divergence: Issues: Swiss Formula: ภาษีสูงต้องลดลงในอัตราที่มากกว่าภาษีต่ำ ทำให้เกิดการลดภาษีมากกว่า Swiss 1. จะมีค่า coefficient จำนวนกี่ค่า? สูตรการลดภาษี 2. แต่ละค่า coefficient จะเท่ากับเท่าใด? Swiss (ABI) Formula: ใช้อัตราภาษีเฉลี่ยมาร่วมคำนวณ ประเทศที่มีโครงสร้างภาษีสูง จะได้เปรียบในการลดน้อยกว่า Swiss (ABI) T1 = Final Tariff To = Initial Tariff A = Coefficient B =Coefficient Ta = Tariff Average

  6. ความแตกต่างระหว่างอัตราผูกพัน (bound rate) & อัตราเก็บจริง (applied rate) Source: WTO Secretariat based onCTS for the bound rates and IDB and UNCTAD for the MFN applied rates. (*) Binding coverage could be overestimated due to partial bindings. See TN/MA/S/14.

  7. เป้าหมายและจุดยืนของไทยในเรื่อง NAMA • ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่มีภาษีต่ำ (3-5%) • ประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉลี่ยมีภาษีสูง (25-30%) • ในปี 2551 ไทยจะปรับโครงสร้างภาษีทั้งหมดทำให้อัตราภาษีเฉลี่ยลดลงเหลือ 5.63% ไทย ประเด็น การลดภาษีภายใต้ FTA การปรับโครงสร้างภาษี อัตราภาษีเฉลี่ยเก็บจริง(ปี 2548) = 10.7% อัตราภาษีเฉลี่ยผูกพัน = 24.96% ไทยต้องการลดภาษีของประเทศกำลังพัฒนา!!

  8. ผลกระทบสูตรการลดภาษีแบบ Swiss ต่อภาษีเก็บจริง (applied rate) Applied Rate Average rate % New rate after application of Swiss formula [15] Swiss formula (Note) - A simple method (i.e. applying formula to the average rate) is used to calculate the new average rates for approximation.

  9. 45% Current tariff Percent NOT EXHAUSTIVE ร้อยละ 55 ของสินค้าอุตสาหกรรมไทยต้องประสบกับปัญหาภาษีสูงในตลาดสหรัฐฯ (Tariff Peaks) • 55% of Thai industrial exports to the US face high tariffs • Tariff are significantly higher than the US average of 3% for all products 100% = USD17.2 bn Footwear 59.0 Knitted apparel 32.3 Woven apparel 28.8 Other textiles 21.2 Clock & watches 24.6 Canned seafoods 20.0 Electrical appliances 15.0 Gems & jewelry 13.5 Furniture 13.0 Wood products 10.7 USD9.5 bn Others n/a ภาษีเฉลี่ยของสหรัฐฯ = 3% Source: Ministry of Commerce, 2004

  10. Bound Applied Swiss 15 สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15

  11. Bound Applied Swiss 15 สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15

  12. Bound Applied Swiss 15 สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15

  13. การผูกพันสินค้า Unbound Items : อัตรา Unbound จะเริ่มลดภาษีจากอะไร ? ขั้นตอนการลดภาษี ประเด็น อัตราผูกพัน อัตรา Unbound จะกำหนด base rate ในการลดภาษีของ unbound อย่างไร ?? อัตราเก็บจริง Base rates สูตร Non-linear Mark-up Approach อัตราผูกพันใหม่

  14. การกำหนดอัตรา mark-up สำหรับสินค้า unbound Final Bound rate after the application of Non-linear Mark-up of [30] % point Non-linear Mark-up Approach Applied + Mark-up % point = Base Rate เช่น อัตรา applied ปี 2001 เท่ากับ 0% บวกกับ mark-up 30% point เท่ากับ base rate 30% เมื่อลดภาษีด้วยสูตร Swiss 15 จะเท่ากับ 10% Swiss Formula [15] อัตรา mark-up ขึ้นอยู่กับ ผลการเจรจา

  15. ความสมดุลระหว่างความต้องการในการเปิดตลาดกับ ความอ่อนไหวของสินค้าบางรายการ ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ รวมทั้งไทย มีความต้องการที่จะเปิดตลาดสินค้าของตนเองในตลาดต่างชาติ แต่มีความจำเป็นต้องปกป้องสินค้าอ่อนไหวบางรายการ Sensitivity Ambition การเจรจา NAMA เปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถมีความยืดหยุ่น (flexibility) ในการปกป้องสินค้าอ่อนไหวบางรายการได้ !?

  16. ความยืดหยุ่นสำหรับประเทศกำลังพัฒนาความยืดหยุ่นสำหรับประเทศกำลังพัฒนา • ประเด็นที่ต้องเจรจา • ระยะเวลาการลดภาษี • จำนวนรายการสินค้าอ่อนไหวที่จะใช้ flexibility Flexibility Longer Implementation Period Less than Formula Cut + OR Retain some Unbound items

  17. อุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff Barriers: NTBs) NTB คือมาตรการอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษี แต่มีผลการการจำกัดหรือกีดกันการนำเข้า (Non-Tariff Barriers mean measures other than tariffs which effectively prohibit or restrict import or export of products) – ASEAN Working Definition. แนวทางการเจรจาภายใต้ WTO 1. Request-Offer Basis 2. Vertical Approach 3. Horizontal Approach การเจรจาสองฝ่าย/กลุ่มย่อยเพื่อให้ประเทศที่ใช้มาตรการ NTB หาทางแก้ไข การเจรจากลุ่มย่อยตามสาขาสินค้าที่ประสบปัญหา NTBs เช่น สาขาสิ่งทอ อาหารทะเลแปรรูป ฯลฯ การเจรจากลุ่มย่อยตามรายมาตรการที่เป็นปัญหา NTBs เช่น มาตรการเก็บภาษีส่งออก (export tax)

  18. NOT EXHAUSTIVE อุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff Barriers: NTBs) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อิเล็คทรอนิกส์ อาหารทะเลแปรรูป ยานยนต์และชิ้นส่วน Sectors Measures ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด/อุดหนุน นโยบายอุดหนุนภายในประเทศ Vertical พิธีการทางศุลกากร การตรวจสอบสินค้า Horizontal มาตรการสุขอนามัย อื่นๆ

  19. การดำเนินการขั้นต่อไป...การดำเนินการขั้นต่อไป... Feb 2008 Chair’s Revised Text สมาชิกเจรจาต่อโดยใช้ Chair’s Revised Text เป็นพื้นฐานในการเจรจา ความคืบหน้าการเจรจา ปฏิรูปภาคเกษตร ความเป็นไปได้ที่การเจรจาจะได้ ข้อสรุปภายในปี 2008 ท่าทีของกลุ่มประเทศ ABI / NAMA11 การเมืองสหรัฐฯ

  20. QUESTIONS & ANSWERS

More Related