1 / 37

บรรยายพิเศษ รายวิชา 425300 วิชาชีพวิศวกรรม ภาคการศึกษาที่ 1/2554 เรื่อง การบริหารเงินและทรัพย์สิน

บรรยายพิเศษ รายวิชา 425300 วิชาชีพวิศวกรรม ภาคการศึกษาที่ 1/2554 เรื่อง การบริหารเงินและทรัพย์สิน วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00 – 15.00 น. วิทยากร นางวารี เชื้อปรุง หัวหน้าส่วนการเงินและบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ.

drago
Download Presentation

บรรยายพิเศษ รายวิชา 425300 วิชาชีพวิศวกรรม ภาคการศึกษาที่ 1/2554 เรื่อง การบริหารเงินและทรัพย์สิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บรรยายพิเศษ รายวิชา 425300 วิชาชีพวิศวกรรม ภาคการศึกษาที่ 1/2554 เรื่อง การบริหารเงินและทรัพย์สิน วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00 – 15.00 น. วิทยากร นางวารี เชื้อปรุง หัวหน้าส่วนการเงินและบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

  2. สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพสิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ 1. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง 2. การแข่งขันกว้างขวาง 3. ช่องว่างเริ่มลด 4. ความกดดันจากกลุ่มผู้บริโภค 5. ประสบโชคได้ - อาศัยคุณภาพ การปรับเปลี่ยนผันทิศทางของโครงสร้างองค์กร

  3. มิติใหม่ที่ใช้ CQRS C :Customer…. ลูกค้า Q :Quality …. คุณภาพ R :Relations …. ความสัมพันธ์ S :Services …. บริการ

  4. สูตร 6 ประการSix Formulas 1.ปรับเปลี่ยนใหม่ ๆไม่ละลด :Innovation 2.กำหนดเป้าหมาย :Long-term goals 3.แข่งขันไว้เป็นปฐม :Competition-oriented 4.นิยมรวมบริหาร :Administratively centralized 5.พนักงานมีศักดิ์ศรี :Respect for employees 6.สนิทสนมดีกับลูกค้า :Close-contact with customers

  5. ผู้นำแนวใหม่ในสภาวะแวดล้อมใหม่A new leader in a new circumstance ต้องใส่ใจในการพัฒนา/ปรับปรุง 1. แนวคิด :Concept 2. วิทยาการ :Knowledge 3. ความชำนาญปฏิบัติ :Skills

  6. อาชีพในฝัน

  7. มนุษย์เงินเดือน

  8. ไม่ใช่มนุษย์เงินเดือนไม่ใช่มนุษย์เงินเดือน

  9. เป้าหมายของการประกอบอาชีพเป้าหมายของการประกอบอาชีพ มนุษย์ไม่ใช่เงินเดือน มนุษย์เงินเดือน การบริหารเงินและทรัพย์สิน ตามสถานภาพ รายรับ - รายจ่าย การบริหารเงินและทรัพย์สิน ตามการประกอบธุรกิจ รายได้ - ค่าใช้จ่าย เงินออม กำไร

  10. แนวทางการประกอบธุรกิจแนวทางการประกอบธุรกิจ เจ้าของคนเดียว ลงทุนคนเดียว รวย/เจ๊ง คนเดียว บัญชี Dr.เงินสด/ทรัพย์สิน Cr.ทุน บัญชี Dr.เงินสด/ทรัพย์สิน Cr.ทุน นาย ก ทุน นาย ข ห้างหุ้นส่วน ลงทุนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป รวย/เจ๊ง ร่วมกัน การลงทุน บริษัท ลงทุนตามหุ้นที่แบ่งเงินทุนทั้งหมดเป็นหุ้นมูลค่าหุ้นละเท่ากัน รวย/เจ๊ง ตามหุ้นที่ถือ บัญชี Dr.เงินสด/ทรัพย์สิน Cr.ทุนเรือนหุ้น (ทุนหุ้นสามัญ)

  11. การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน (ไม่รวมเงินได้ประเภทที่1) จำนวนตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป เงินได้พึงประเมิน - ( 8 ประเภท) - หัก ค่าใช้จ่าย หัก ค่าลดหย่อน คูณอัตราร้อยละ 0.5 เงินได้สุทธิ ยกเว้น เฉพาะมีภาษีที่ต้องเสียไม่เกิน 5,000 บาท คูณอัตราภาษีก้าวหน้า เปรียบเทียบ ชำระภาษีตามวิธีที่มากกว่า ยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 , 91 (แล้วแต่กรณี) ภายในเดือนมีนาคม ของปีภาษีถัดไป

  12. อัตราภาษี อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตั้งแต่ปีภาษี 2551 เป็นต้นไป(ให้เงินได้สุทธิ เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 150,000 บาทแรก สำหรับปีภาษี ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้) เงินได้สุทธิ ระหว่าง จำนวนเงินได้สุทธิ อัตราภาษี ร้อยละ จำนวนภาษี รวมเงินภาษี 1 - 100,000 0 ยกเว้นภาษี 100,000 5 100,001 - 150,000 50,000 10 0 ยกเว้นภาษี 150,001 - 500,000 350,000 35,000 35,000 10 500,000 500,001 - 1,000,000 100,000 135,000 20 900,000 1,035,000 1,000,001 - 4,000,000 3,000,000 30 37 4,000,001 บาทขึ้นไป

  13. ที่มาของกำไรในธุรกิจ กำไร = รายได้ - ค่าใช้จ่าย ธุรกิจบริการ ธุรกิจซื้อมาขายไป กำไร = รายได้ – ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ธุรกิจการผลิต/รับจ้าง กำไร = รายได้ – ต้นทุนผลิต – ต้นทุนขาย -ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน

  14. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล : ฐานกำไรสุทธิ รอบระยะเวลาบัญชี = 12 เดือน : คำนวณโดยใช้เกณฑ์สิทธิ กำไรสุทธิ (ตามหลักบัญชี) = รายได้ - รายจ่าย บวก + รายได้ที่ประมวลรัษฎากรกำหนด + รายจ่ายต้องห้าม + รายจ่ายที่หักเกิน ปรับปรุง ตามมาตรา 65 ทวิ , ตรี หัก - รายได้ที่ประมวลรัษฎากร ยกเว้น - รายจ่ายที่ประมวลรัษฎากรให้หักได้ X กำไรสุทธิ (ตามประมวลรัษฎากร) อัตราภาษี 30% (คงที่) ยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50 ภายใน 150 นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

  15. อัตราภาษี : มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริม SMEs ให้ลดอัตราภาษีเงินได้ เฉพาะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทกำไรสุทธิอัตราภาษี 1 – 1,000,000 15 % (ยกเว้น 150,000 บาท) 1,000,001 – 3,000,000 25 % 3,000,001 ขึ้นไป 30 %ให้ใช้บังคับแก่กำไรสุทธิของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป (พรฎ.471/2551)

  16. การจัดการ Management ความรับผิดชอบในการทำให้ทรัพยากรการบริหาร มีประโยชน์สูงสุด

  17. ทรัพยากรการบริหาร Management Resources 1. คน Men 2. เงิน Money 3. วัสดุ Materials 4. อุปกรณ์ Machine

  18. ภารกิจการจัดการ Management Functions การวางแผน Planning การจัดรูปงาน Organizing การสั่งการ Directing การควบคุม Controlling

  19. ผู้บริหารดีสามารถจัดการได้ผลดีผู้บริหารดีสามารถจัดการได้ผลดี A good manager can manage the work well. ผู้บริหารชั้นยอดรู้ตลอดวิธีการบริหารสถานการณ์ต่าง ๆ An excellent manager knows how to manage the situations.

  20. เมื่อไร • อย่างไร • สิ่งที่จำเป็น • ผลที่คาดหวัง • ใคร • อะไร • ที่ไหน • สรุปเป็นแผนธุรกิจ ขั้นตอนการจัดทำแผนธุรกิจ กำหนดให้ชัดเจน เรียบเรียงให้เป็นระบบ แผนธุรกิจ วิเคราะห์และวางแผน ปรับและสรุปเป็นตัวเลข • บริษัท • สินค้า/บริการ • ตลาด • กลยุทธ์การตลาด/ • แผนการขาย • การผลิต/จัดซื้อ • แผนบริหาร • ทรัพยากรที่จำเป็น • กิจกรรมที่ต้องทำ • บทสรุปผู้บริหาร • สารบัญ • เอกสารแนบท้าย/ • ตารางอ้างอิง

  21. แนวคิดธุรกิจ แผนธุรกิจ ทีมงาน อุตสาหกรรม/ตลาด การผลิต/ปฏิบัติการ การศึกษาความเป็นไปได้ การจัดองค์การ อุตสาหกรรม การตลาด แนวคิดธุรกิจ สินค้า/บริการ โอกาส สินค้า/บริการ การเงิน ลูกค้า ลูกค้า โอกาสในอนาคต คุณค่า/คุณประโยชน์ เงินลงทุน แผนรับความเสี่ยง การจัดจำหน่าย ข้อเสนอ ทีม พัฒนาการจากไอเดียสู่แผนธุรกิจ

  22. แผนการบริหาร จะบริการอะไร จะบริการได้อย่างไร กว่าจะถึงมือลูกค้า ต้องการผลิตปริมาณเท่าไร หามือขยันที่ไหนมาช่วย ลำดับเรื่องที่ต้องทำไว้ทั้งหมด แสดงรายละเอียดให้หมดทุกส่วนโดยกำหนด ลงไปในตารางเวลา (Gantt Chart) ให้เป็นแผนของการนำสิ่งที่คิดอยู่ไปปฏิบัติ ให้เป็นจริง หรือเป็นการแปรนโยบายไปปฏิบัติ (Implementation Plan) วัสดุ ลูกค้า แผนปฏิบัติการ กระบวนการ การดำเนินการ การส่งมอบ เครื่องมือ

  23. แผนการเงิน ผัน “คำพูด” ให้เป็น “ตัวเงิน” มาลงท้ายที่ “ตัวเลข” “ตัวเลข” คือ ภาพสะท้อนของความสำเร็จในเชิงธุรกิจ ต้องเตรียม “กระสุน” ไว้สักเท่าไร เงินทุนหมุนเวียน เงินที่ใช้หมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ตั้งแต่การซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ การผลิตการเก็บสต็อค การขาย สินค้า จนกว่าจะเก็บเงินจากลูกหนี้ ซึ่งจะต้องรู้ว่าใช้ระยะเวลากี่วัน ตั้งแต่เริ่มซื้อจนถึงเก็บเงินได้ และจะต้องใช้เงินทุนสำหรับหมุนเวียน เป็นจำนวนเงินเท่าไร

  24. แหล่งที่มาของเงินทุนหมุนเวียนแหล่งที่มาของเงินทุนหมุนเวียน • การเพิ่มทุน • การกู้ยืมเงิน 3. กำไรของกิจการ จะผลิดอกออกผลมาอย่างไร ลงทุนแล้วจะได้ผลตอบแทนออกมาเป็นอย่างไร หรือ กำไร = รายได้ - ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่าย ต้องวางแผน 3 ปัจจัยหลัก จะมีรายได้ในแต่ละเดือนเท่าไร จะมีต้นทุนขายประมาณเท่าใดของรายได้ และจะต้องควบคุม ค่าใช้จ่ายอย่างไร เพื่อให้เหลือกำไรได้ตามที่ต้องการ

  25. ปัจจัยที่ 2 มาจากต้นทุนการดำเนินการ วัสดุ ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นในการดำเนินการ ปัจจัยที่ 1 มาจากแผนการตลาด ปัจจัยที่ 3 มาจากค่าใช้จ่ายการตลาด และ การจัดการ ควรให้ความสำคัญ กับการควบคุมค่าใช้จ่ายและการใช้จ่ายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

  26. งบกระแสเงินสด การบริหารเงินให้มีสภาพคล่อง สรุปออกมาค่างบการเงินทั้งสาม งบกระแสเงินสด งบกำไรขาดทุน งบดุล งบกำไรขาดทุน การบริหารงานตามแผนปฏิบัติการให้มีประสิทธิภาพ งบดุล การบริหารสินทรัพย์ให้มีความมั่นคง

  27. หลักเกณฑ์พื้นฐานในการวิเคราะห์การเงินหลักเกณฑ์พื้นฐานในการวิเคราะห์การเงิน • อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) วัดความสามารถในการชำระหนี้สินระยะสั้นของกิจการ • อัตราส่วนกิจกรรม(Activity Ratios) วัดสมรรถภาพการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ของกิจการ • อัตราส่วนกำไร(Profitability Ratios) วัดระดับความสำเร็จหรือความล้มเหลวของกิจการในงวดเวลาหนึ่ง • อัตราส่วนคุ้มกัน(Coverage Ratios) วัดระดับความคุ้มกันสำหรับเจ้าหนี้ระยะยาวและผู้ลงทุน

  28. เงินสดCash เงินสด หมายถึง ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เงินฝากเผื่อเรียก เช็คที่ยังไม่ได้นำฝาก เช็คเดินทาง ดร๊าฟของธนาคาร และธนาณัติ

  29. การบริหารเงินสด หน่วยงานต้องบริหารเงินสดให้ถือเงินสดในมือให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพราะเงินสด เป็นสินทรัพย์หมุนเวียนประเภทหนึ่งที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และเกี่ยวข้องโดยตรงกับสภาพคล่อง กำไร และความเสี่ยง

  30. สาเหตุที่ต้องถือเงินสดสาเหตุที่ต้องถือเงินสด Rationale for holding cash • เพื่อการดำเนินงานในหน่วยงาน(Transaction) • เพื่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน(Precaution) • เพื่อเก็งกำไร(Speculation)

  31. กิจกรรมของผู้บริหารการเงินกิจกรรมของผู้บริหารการเงิน 1. การพยากรณ์(Forecasting)และการวางแผน(Planning) เพื่อ 1.1 การลงทุน(Investment)และการตัดสินใจทางการเงิน(Financing decisions) 1.2 การบริหารความเสี่ยง(Risk management)

  32. 2. การจัดหาเงินทุน( Acquisition fund) • 3. การจัดสรรเงินทุน(Allocation fund) • การประสานงาน(Coordination) • และการควบคุม(Control)

  33. งบประมาณกระแสเงินสด Cash Flow budget • ปริมาณเงินสดในมือขั้นต่ำ • ประมาณกระแสเงินสดรับเข้า • ประมาณกระแสเงินสดจ่ายออก

  34. กิจกรรมที่เกี่ยวกับกระแสเงินสดกิจกรรมที่เกี่ยวกับกระแสเงินสด • กิจกรรมดำเนินงาน(Operating activities) • กิจกรรมการลงทุน(Investing activities) • กิจกรรมจัดหาเงิน(Financing activities)

  35. แนวทางการบริหารทรัพย์สินแนวทางการบริหารทรัพย์สิน 1. การวางแผนการจัดหา 2. การจัดหาทรัพย์สิน 3. การวางแผนการใช้ประโยชน์ 4. การบำรุงรักษา 6. การจำหน่ายทรัพย์สินออกจากบัญชี

More Related