1 / 185

WELCOME

WELCOME. To. Java Programming. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Java. เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) (Object Oriented Programming) โปรแกรม SDK (Software Development Kit) เขียนโปรแกรมแสดงบน Internet หรือ บน Command Line นามสกุลไฟล์ .java. Class.

dustin
Download Presentation

WELCOME

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. WELCOME To Java Programming

  2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Java • เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) (Object Oriented Programming) • โปรแกรม SDK (Software Development Kit) • เขียนโปรแกรมแสดงบน Internet หรือ บน Command Line • นามสกุลไฟล์ .java

  3. Class Class คือ ต้นแบบของการกำหนดตัวแปร และ Method • ประโยชน์ของ Class • การแบ่งออกเป็น Class ทำให้โปรแกรมที่สร้าง ขึ้นมาง่ายต่อการแก้ไข • แต่ละ Class ไม่มีผลอย่างใดกับ Class อื่น • เมื่อมีการแก้ไข

  4. ประเภทของ Java • Java Scriptเขียนโปรแกรมฝังตัวไว้ใน Web Page • Java Java Applet Java Application

  5. ไฟล์โปรแกรมของ SDK • javac.exeใช้ Compile Source Codeนามสกุล.java เป็นนามสกุล.class • java.exe  ใช้Runไฟล์จุด classของ Java Application • appletviewer.exe  ใช้Run ไฟล์จุด HTMLของJava Applet

  6. โปรแกรมที่ใช้เขียนภาษา Java • Notepad • WordPad • Edit DOS • Edit plus • ฯลฯ

  7. โครงสร้างภาษา Java Application class name { public static void main(String[] arg) { // add Code Java } }

  8. โครงสร้างภาษา Java Applet import Package; public class name extends Applet { //add Code Java } เรียกใช้คำสั่งสำเร็จรูปต่าง ๆ ชื่อไฟล์เอกสาร Java

  9. ตัวอย่างการสร้างไฟล์Java Application ชื่อไฟล์ java1.java class java1 { public static void main(String arg[]) { System.out.println(“Welcome To Java”); } }

  10. การ Compile Java Application • C:\jdk>พิมพ์.\bin\javac ชื่อไฟล์.java การ Run JavaApplication • C:\jdk>พิมพ์.\bin\java ชื่อไฟล์(ไม่มีนามสกุล)

  11. การสร้างไฟล์ Java Applet • สร้างไฟล์ java • Compile • สร้างเอกสาร HTML • Run แสดงผล

  12. ตัวอย่างการสร้างไฟล์Java Applet ชื่อไฟล์ java2.java import java.awt.*; import java.applet.*; public class java2 extends Applet { public void paint(Graphics g) { g.drawString(“Welcome To Java”,50,100); } }

  13. สร้างไฟล์เอกสาร HTML <html> <head><title>ชื่อหน้าต่าง</title></head> <body> <applet code=“ชื่อไฟล์.class” width=กว้าง height=สูง> </applet> </body> </html> ชื่อไฟล์ java2.html

  14. Package (Java Class Library) Standard Package • java.applet -> ใช้สร้าง Applet • java.awt -> สร้าง GUI (Graphical user interface) • java.io -> ทำงานด้าน I/O • java.lang -> ทำงานด้านการคำนวณตัวเลข • java.net -> สร้างการติดต่อระบบเครือข่าย • java.util -> การเข้ารหัส/ถอดรหัส, วัน/เวลา • java.awt.image -> สร้างและทำงานกับรูปภาพ • javax.swing -> สร้าง Swing GUI

  15. การเรียกใช้งาน Package • รูปแบบ import ชื่อแพ็กเกจ.*; เช่น import java.util.*; import java.util.Calendar;

  16. คำสั่งแสดงผล System.out.println(“ข้อความ”); System.out.println(ตัวแปร); System.out.println(“ข้อความ”+ตัวแปร); System.out.println(); System.out.print(“ข้อความ”+ตัวแปร); ไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ให้

  17. ชนิดของตัวแปร • ประเภทตัวเลข (Numeric) • ตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) • byte 8 bit, short 16 bit • *int 32 bit, long 64 bit • ตัวเลขทศนิยม (Real) • float 32 bit, *double 64 bit

  18. ชนิดของตัวแปร ประเภทตัวอักษร (Character) char 16 bit ประเภทตรรกศาสตร์ (Boolean) boolean 1 bit == > true / false ประเภท Class ข้อความ String

  19. การตั้งชื่อ (Identifier) • ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร • ความยาวไม่จำกัด • ห้ามเว้นวรรค ยกเว้น ใช้ _(underscore), $ • ตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่ ถือว่าต่างกัน

  20. การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร; เช่น String name,Name; int num1,num2;

  21. การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ เลขจำนวนเต็ม 0(ศูนย์) นำหน้าเลขจำนวนเต็ม 0x นำหน้าเลขจำนวนเต็ม ค่าคงที่จำนวนเต็ม เลขฐาน 10 เลขฐาน 8 เลขฐาน 16 เช่น 20 ฐาน 8 เป็น 024 ฐาน 16 เป็น 0x14

  22. การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ จะใช้ f หรือ F ต่อท้ายเลขทศนิยม D หรือ d(ไม่ใส่ก็ได้) ตัวเลขทศนิยม float double เช่น 100.0f หรือ 100.65d

  23. การกำหนดค่าคงที่ กำหนดค่าคงที่ ใช้เครื่องหมาย ‘ ’ ครอบตัวอักษร ใช้เครื่องหมาย “ ” ครอบ ค่าคงที่ตัวอักษร char ค่าคงที่ตัวอักขระ String

  24. ตัวดำเนินการ (Operator) • Operator ทางด้านการคำนวณ • Operator ทางการเปรียบเทียบ • Operator ทางการกำหนดค่า • Operator ทางตรรกะ

  25. Operator ทางการคำนวณ

  26. Operator ทางการคำนวณ Increment (การเพิ่มค่า)(++) เช่น a++  a=a+1 Decrement (การลดค่า)(--) เช่น a--  a=a-1 Ex a=5 x=a++;  x=5 a=6 x=++a;  x=6 a=6

  27. ตัวอย่าง<op1.java> class op1 { public static void main(String arg[]) { int x=5, y=4, sum; sum=y*x++; //sum=y*++x; System.out.println("x=5 y=4"); System.out.println("sum=y*x++ ="+sum); }}

  28. Operator ทางการกำหนดค่า • = เท่ากับ • += เช่น A+=3  A=A+3 • -= • *= • /= • %=

  29. ตัวอย่าง Operator ทางการกำหนดค่า<op2.java>

  30. Operator ทางการเปรียบเทียบ

  31. ตัวอย่างOperator ทางการเปรียบเทียบ <op3.java>

  32. Operator ทางตรรกะ

  33. การใช้ตัวดำเนินการทางเชิงตรรกะการใช้ตัวดำเนินการทางเชิงตรรกะ

  34. ตัวอย่าง Operator เชิงตรรกะ <op4.java>

  35. ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรตัวอักษร <op5.java>

  36. การกำหนดคำอธิบาย (Comment) • In-line Comments แสดงคำอธิบายภายในบรรทัด ใช้เครื่องหมาย // เป็นจุดเริ่มต้น และสิ้นสุดเมื่อจบบรรทัด //Start Program //Stop Program • Block Comments แสดงคำอธิบายเป็นกลุ่ม หลาย ๆ บรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* เป็นจุดเริ่มต้นคำอธิบาย และ */ เป็นจุดสิ้นสุดคำอธิบาย

  37. การจัดการกับ String String ตัวแปร=“ค่า”; “ ”ห้ามอยู่คนละบรรทัด “ ” = null ค่าว่าง

  38. การหาความยาว String String.length(); เช่น String fname=“Viyada”; int n=fname.length(); ภาษาไทยนับสระ วรรณยุกต์ บนล่างด้วย <ตัวอย่าง length1.java>

  39. การดึงข้อความบางส่วน (Sub String) ตัวแปรString.substring(ค่าเริ่มต้น,ค่าสิ้นสุด); ตัวแปรString.substring(ค่าเริ่มต้น); ค่าเริ่มต้น เริ่มนับจาก 0,1,2… ค่าสิ้นสุดเริ่มนับจาก 1,2,3… <ตัวอย่าง substring1.java>

  40. การดึงตัวอักษร 1 ตัว String.charAt(ตำแหน่งตัวอักษร) เริ่มนับจาก 0,1,2… <ตัวอย่าง charAt1.java>

  41. การแทนที่ข้อความ String.replace(ตัวอักษรเดิม,ตัวอักษรใหม่); เช่น String S=“Java”.replace(‘a’,‘o’); คำนึงการค้นหา+แทนที่แบบตัวพิมพ์เล็ก-ใหญ่ <ตัวอย่าง replace1.java>

  42. การเปลี่ยนตัวอักษรใน String String.toUpperCase();//ตัวพิมพ์ใหญ่ String.toLowerCase();//ตัวพิมพ์เล็ก เช่น String st=“Java Programming”; String upper=st.toUpperCase(); String lower=st.toLowerCase(); <ตัวอย่าง UpperLower.java>

  43. การกลับด้านข้อความ (Reverse) String.reverse(); StringBuffer ตัวแปร=new StringBuffer(“ข้อความ"); System.out.println(ตัวแปร.reverse()); <ตัวอย่าง reverse1.java>

  44. การชี้ตำแหน่ง Index รูปแบบ indexOf(‘ตัวอักษร’) เริ่มนับจาก 0,1,2… <ตัวอย่าง indexOfDemo.java>

  45. Workสร้างรหัสลับ<password.java> เขียนโปรแกรมค้นหาตัวอักษรพร้อมจัดรูปแบบคำต่อไปนี้ “Siam Computer.” ผลลัพธ์ Mr.Siam

  46. การแปลงค่าข้อมูล ประเภทรูปแบบการแปลงค่าข้อมูล • Casting • toString • Integer.parseInt()Double.parseDouble()

  47. การแปลงค่าในรูปแบบ Casting • รูปแบบคำสั่ง • เช่น int x; float y=45.5f; x=(int)y; (ประเภทข้อมูล)ตัวแปร <ตัวอย่าง casting1.java>

  48. การแปลงค่าในรูปแบบ toString() แปลงจากตัวเลขเป็นตัวอักษร String ตัวแปร=“”+ตัวเลข; หรือ String ตัวแปร=Integer.toString(ตัวเลข); String ตัวแปร=Double.toString(ตัวเลข); String ตัวแปร=Float.toString(ตัวเลข); <ตัวอย่าง ToString.java>

  49. Workนับตำแหน่งตัวเลข<ToStringDemo.java>Workนับตำแหน่งตัวเลข<ToStringDemo.java> เขียนโปรแกรมนับตำแหน่งตัวเลขทั้งหน้าและ หลังจุดทศนิยม

  50. เปลี่ยนค่าตัวอักษรเป็นตัวเลขเปลี่ยนค่าตัวอักษรเป็นตัวเลข int ตัวแปร=Integer.parseInt(String); double ตัวแปร=Double.parseDouble(String); float ตัวแปร=Float.parseFloat(String); <ตัวอย่าง change1.java>

More Related