540 likes | 1.05k Views
เป้าหมายการดำเนินงาน Service Plan. ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดระยะเวลารอคอย ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มการเข้าถึงบริการ เพิ่มมาตรฐานการบริการ. นโยบายผู้ตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 6. One province one hospital One region one business. From service plan Quality of service. ทารกแรกเกิด.
E N D
เป้าหมายการดำเนินงาน Service Plan ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดระยะเวลารอคอย ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มการเข้าถึงบริการ เพิ่มมาตรฐานการบริการ
นโยบายผู้ตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 6 One province one hospital One region one business
ทารกแรกเกิด สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ มาตรการ • ปริมาณผู้ป่วยทารก LBW 10% , Birth Asphyxia 20 -36.1 : 1000 LB • จำนวนเตียง NICU ที่มีปัจจุบัน 73 ต. ไม่เพียงพอ ขาด 44 ต.(เกณฑ์ 1 : 500) • จำนวนเตียง SNB ที่มีปัจจุบัน 233 ต. ไม่เพียงพอ ขาด 94 เตียง • เพิ่มเตียง NICU 2 (แผน 4),SNB 17 (แผน 11) • TPN 6/8 จังหวัด (ชลบุรี สนับสนุนรพช.ทุกแห่ง) • Refer นอกเขตลดลง 50% • เพิ่มเตียง NICU อีก 42 ต. SNB อีก 86 ต. ภายในในปี 2560 • พัฒนาศักยภาพของ TPN ใน จังหวัดสมุทรปราการ สระแก้ว • พัฒนาศักยภาพศูนย์ทารก รพ.พระปกเกล้า (Dx.โรคหัวใจแต่กำเนิดด้วย Echo, Ped. , Surg.) • พัฒนาศักยภาพศูนย์ทารก รพ.ชลบุรี (การผ่าตัดหัวใจซับซ้อน ) ขยาย NICU ในศูนย์ระดับ 1,2,3 และ พัฒนาศักยภาพของศูนย์ระดับ1 • ผู้ป่วยทารกแรกเกิดได้รับการดูแลภายในเขต 100% • อัตราตายทารกแรกเกิดลดลงน้อยกว่า 8 ต่อ1,000 เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ หัวใจ • มีการส่งผู้ป่วย STEMI , NSTEMI, Stable angina , VHD ออกนอกเขตบริการจำนวนมาก • อัตราตาย STEMI17 % • มี Warfarin clinic ได้เฉพาะ รพ.ระดับ A –S , Heart Failure clinic บางแห่งที่ รพ. ระดับ A –S • ระยะรอคิวผ่าตัดหัวใจ ˃ 6 เดือน i • รพ. ระดับ A – F2ให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ • รพ.ระดับ A – F2 เปิด Warfarin Clinic ได้ • รพ ระดับ A-S เปิด Heart Failure Clinic ได้ • ผ่าตัดหัวใจ สวนหัวใจ ได้มากขึ้น ที่ รพ.ชลบุรี รพ.พระปกเกล้า • ให้ Thrombolytic agent ที่ รพ ระดับ A- F2 ได้ • ผ่าตัดหัวใจได้ที่ รพ.ชลบุรี รพ.พระปกเกล้า • มี Warfarin Clinic ที่ รพ ระดับ A- F2 • มี Heart failure Clinic ที่รพ ระดับ A-S • ให้ dual antiplateletsและanticoagulant ที่รพ ระดับ A- F2 • คิวสวนหัวใจไม่เกิน 2 เดือน และคิวผ่าตัดหัวใจไม่เกิน 3เดือน • อัตราตาย STEMI ไม่เกิน 10% • เปิด Warfarinและ Heart failure clinic ครบ 100 % • พัฒนาเครือข่ายการดูแล STEMI ,ACS, Warfarin, HF • สามารถเพิ่มการสวนหัวใจ และ ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด • ได้ ใน ศูนย์ระดับ A1 มาตรการ เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
อุบัติเหตุ สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ • HI 1,045 ราย, Multiple Injury 2,723 ราย • จำนวน ICU ไม่เพียงพอ • การสร้างเครือข่ายแพทย์ทางสมอง และอื่นๆ • มีแนวทางการดูแล pt.HI • เพิ่มเตียง ICUTrauma จาก 94 เป็น 160 ต. • ให้มี Trauma fast track ใน รพท. ทุกแห่ง • เปิด Advance Burn Unit จาก 10 เป็น 16 ต. • Pt. Trauma เข้าถึงการผ่าตัด (Head/Multiple/Vascular Injury) ภายในเวลาที่กำหนด 80% รวมถึงระยะเวลาจาก Dx.to Surgery ได้ 80% • จำนวน pt.ที่มีค่า PS > 0.75 ในเครือข่ายบริการเสียชีวิตลดลง 10% จากเดิม • เพิ่มศูนย์ระดับ 2 ครอบคลุมพื้นที่อีก 3 แห่ง • พัฒนาศักยภาพการดูแล Vascular Injury, Burn Unit • มีเครือข่ายแพทย์ Multiple Injury มาตรการ เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ
มะเร็ง สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ • ปี 2556 pt.มะเร็งทุกประเภท • พบมากที่สุด CA Breast, Cervix, Lung, Liver • ส่งต่อ pt. เพื่อการฉายแสงระยะเวลารอคอยมากกว่า 2 เดือน • รพศ./รพท.ผ่าตัด และให้เคมีบำบัดได้เกือบทุกแห่ง, • รพศ./รพท./รพ.สต.ทุกแห่งมี Palliative care • และมีเครือข่ายการช่วยเหลือในจังหวัด • อัตรา 5-year survival ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น • เปิดบริการรังสีรักษา รพ.พระปกเกล้า ปี 62 • เปิดหน่วยเคมีบำบัด (รวม Day care) ใน รพท.ครบทุกแห่ง • เพิ่มเตียง Palliative care • ขยายการรักษาด้วยเคมีบำบัดในศูนย์ระดับ 2,3 • พัฒนาศักยภาพศูนย์รังสีบำบัดเพิ่ม 1 แห่ง ลดระยะเวลารอคอย • ขยายบริการ Palliative care,จัดทำ Cancer Registry • pt.มะเร็งได้รับการดูแลจาก รพ. ภายในเขต ร้อยละ 100 • อัตรา 5-year survival ผู้ป่วย แต่ละประเภท แนวทาง เป้าหมายบริการ เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
5 สาขาหลัก ผลการพัฒนาบริการ สภาพปัญหา หัตถการ รพช. • ปริมาณผู้ป่วย Appendectomy, C/S, Ped & Med Respirator, close Fx. มี จำนวนมาก • อัตราการเสียชีวิตจาก sepsis สูง • จำนวนห้องผ่าตัด,เตียง ICU ไม่เพียงพอ • จำนวนห้องผ่าตัด,เตียง ICUไม่เพียงพอ • M2 สามารถผ่าตัดไส้ติ่ง , C/S ได้ 100% F1 ได้ 2 จังหวัด เพิ่มเตียงผ่าตัดได้ 10 เตียง • ดูแล Ped& Med Respirator ได้มี ICU เพิ่ม 48 เตียง • close Fx. รพ.M2 ทำได้ทุกแห่ง • รพศ./ท. ทุกแห่งมี Stroke Unit รวมทั้งระบบ ส่งต่อจาก รพช.(Stroke fast track ) • รพ. F1 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ • รพ. F๑ (ไม่มี M๒)จันทบุรี ฉะเชิงเทรา สามารถผ่าตัดและดูแล pt.ICU • รพช.ทุกแห่งสามารถทำ close reduction • Pt.ผ่าตัดไส้ติ่ง และ C/S ที่ รพ. M2 ได้ร้อยละ 100, F1 (จว.จันทบุรี ,ปราจีนบุรี) • Ped & Med Respirator, close Fx.ส่งต่อลดลง • พัฒนาศักยภาพของ รพ. F๑ : การผ่าตัด การดูแล pt. ICU,C/S • พัฒนาศักยภาพของ รพช.ทุกแห่งในเรื่อง close reduction แนวทาง เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
สาขาตา ผลการพัฒนาบริการ สภาพปัญหา • ผป. Blinding cataract เข้าไม่ถึงบริการคัดกรองและรักษา • ระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจกหลายเดือน • ผป.เบาหวาน ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง เบาหวานขึ้นตาอย่างทั่วถึง • ผป.Blinding cataract 100% ภายใน 1 เดือน ชลบุรี พระปกเกล้า • Low vision 20/70 ภายใน 3 เดือน ชลบุรี พระปกเกล้า • คัดกรอง DR 80% ทุกจังหวัด ในกลุ่มผู้มีอายุ 60 ปีขึ้น • ลดระยะเวลารอคอย • ค้นหาผู้ป่วย Blinding cataract ให้ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดต้อกระจก • เบาหวานขึ้นตา ด้วย Fundus camera โดยมีแผนจัดการในระดับจังหวัด • ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจกเหลือ Blinding Cataract/Low vision ภายในปี 57 ผป.DR ได้รับการคัดกรองร้อยละ 100 แนวทาง • ค้นหาผู้ป่วย Blinding cataract ให้ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดต้อกระจก • ผป.เบาหวาน ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานขึ้นตา และส่งต่อเพื่อการรักษาที่เหมาะสม เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ
สาขาไต ผลการพัฒนาบริการ สภาพปัญหา แนวทาง • ผป.CKD ระยะ 3-5 มีจำนวนมาก • ผป.กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังมากขึ้น • ตั้ง CKD clinic ครบทุก รพศ./รพท.และขยายถึงF1 และOUt Source ภาคเอกชน เป็นเครือข่าย - ผ่าตัดเปลี่ยนไต 2 ราย • มี CKD Clinic ในระดับ ระดับ M2 ปี 2557 ระดับ F1 ปี 2558 • เครือข่าย CAPD ใน รพช./รพ.สต. • มีบุคลากรเพียงพอให้บริการบำบัดทดแทนไต ถึงระดับ M2 • รพศ.ชลบุรี ทำ KT ได้ ปี 25๕๖ • อุบัติการณ์ CKD ระยะ 3-5 ลดลง • Unplanned Dialysis 0% • - เพิ่มความครอบคลุมการคัดกรอง และใช้ eGFR ในการแบ่งระยะของโรค เพื่อเข้าสู่ระบบบริการและส่งต่อได้เหมาะสม • พัฒนาบริการ CKD Clinic จนถึงระดับ M2 ปี 2557 ระดับ F1 ปี 2558 และแนวทางการส่งต่อที่ชัดเจน • - พัฒนา capacity HD CAPD จนถึงระดับ M2 และ KT ระดับ A เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
สาขา NCD สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ • ผป.ยังรับบริการใน รพ.ตั้งแต่ทุติยภูมิขึ้นมา • จำนวน ผป.ที่ควบคุมโรคได้ดียังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ • คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ยังไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์ (ตรวจตา และ เท้า) • NCD clinic คุณภาพ ใน รพ.ระดับ F ขึ้นมา ผ่านเกณฑ์ ยังไม่ครบทุกแห่ง • มีระบบส่งต่อ ผป. NCD ไปรักษาในสถานบริการปฐมภูมิมากขึ้น • NCD Clinic คุณภาพ ใน รพ. ทุกระดับ และพัฒนาระบบข้อมูลการดูแล NCD System management • NCD Clinic ผ่านเกณฑ์คุณภาพทุกแห่ง • เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อผลลัพธ์การดูแลรักษาที่ดี • จังหวัดและอำเภอ ดำเนินการโดย NCD board • ผป.ที่ควบคุมโรคได้ดีตามเกณฑ์ ≥ 40% • คัดกรองภาวะแทรกซ้อนครอบคลุมตามเกณฑ์ ≥ 60% • สัดส่วน ผป.ไปรักษาที่ รพ.สต./ศสม >50% • พัฒนา NCD Clinic คุณภาพ ใน รพ. ทุกระดับ และลงถึงระดับปฐมภูมิ • เน้นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การดูแลรักษาที่ดี • คัดกรองภาวะแทรกซ้อนโดยบูรณาการกับสาขาที่เกี่ยวข้อง (ตา ไต เท้า Lab ) • กำหนด/พัฒนาบทบาท NCD System manager ทั้งระดับ จังหวัดและอำเภอ แนวทาง เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ
สาขาจิตเวช สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ • Psychosis มีมากที่สุด มีความชุกสูง อัตราการเข้าถึง ไม่มาก • โรคซึมเศร้า อัตราการเข้าถึงบริการไม่ครอบคลุม • บุคลากรแพทย์ไม่เพียงพอ • กรณีซับซ้อนส่งต่อ รพ.จิตเวชในเขต • จัดทำบัญชียาจิตเวชครอบคลุมยาจิตเวช 5 กลุ่ม 21 รายการ /คู่มือการใช้ยา จิตเวช • มีแนวทางการส่งต่อ-รับกลับ • มีการคัดกรองผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษามากขึ้น • มี Psychosocial clinic ทุก รพ. • เพิ่มความครอบคลุมการเข้าถึงบริการ • มี Psychosocial clinic ทุก รพ. เพิ่มเตียงจิตเวช ใน รพศ. • การลดการส่งต่อออกนอกเครือข่าย • อัตราการเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น • Psychosis 80% • โรคซึมเศร้า 31% • เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคจิต • ผู้ป่วยโรคจิตส่งกลับไปรับยาที่ รพช.เพิ่มมากขึ้น แนวทาง เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
สาขาทันตกรรม สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ • อัตราฟันผุเด็กอายุ3 ปี เท่ากับร้อยละ 57.26 ยังสูงกว่าระดับประเทศ แต่มีแนวโน้มลดลดลง • มะเร็งช่องปากขึ้นเป็น 1 ใน 10 • การเข้าถึงบริการทันตกรรมต่ำ • ระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียมมากกว่า 6เดือน • เด็ก 0 - 2 ปี ได้รับบริการ PP ทันตกรรม78.36% • อัตราฟันผุเด็กอายุ 3 ปี ระดับเขตมีแนวโน้มลดลง : ปี 56 เป็น 57.26% • ระยะเวลารอใส่ฟันเทียมถอดได้ของผู้สูงอายุ 3.7 เดือน • เพิ่มอัตราการใช้บริการทันตกรรม31.39% • ทุก ศสม.มีการจัดบริการทันตกรรม100 % • ปชช.อายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองมะเร็ง 106,515 ราย -เพิ่มความครอบคลุมการบริการทันตกรรม: เน้น ปฐมภูมิ และขยายบริการลง รพ.สต. (เป้าหมาย มากกว่า ร้อยละ 45 ของ รพ.สต.) - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชนในการแก้ไข ปัญหา - พัฒนาการส่งต่อด้านทันตกรรม • อัตราฟันน้ำนมผุในเด็กอายุ 3 ปี < 57% • อัตราการใช้บริการทันตฯ:ประชาชน ทุกกลุ่มวัยได้รับบริการสุขภาพช่องปาก ≥ 23% • พัฒนาการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพโดยใช้กรอบ DHS • ขยายความครอบคลุมการจัดบริการ และการแก้ไขปัญหา • ในรพ.สต. • พัฒนาบริการทันตกรรมในสถานบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและ • ตติยภูมิและระบบส่งต่อ • จัดระบบคิว และช่องทางรับบริการฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ แนวทางพัฒนา เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์
องค์รวม สภาพปัญหา ผลการพัฒนาบริการ - ศสม. ในรพศ/รพท2/3 - รพ.สต. ยังขาดศักยภาพบริการที่สำคัญ - DHS ไม่มีประสิทธิภาพ - การเข้าถึงบริการด้านกายภาพบำบัดและฟื้นฟูในกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังยังมีน้อยและขาดความต่อเนื่อง - เพิ่ม ศสม. 12 แห่ง เขตเมือง รพช. - รพ.สต. ที่สามารถจัดบริการดูแลNCD ได้ เพิ่มขึ้น 100% - DHS มีการทำแผนสุขภาพและสร้างระบบเครือข่ายฯสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 1.โครงการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมืองให้ได้มาตรฐานลดความแออัดของ รพ. 2.โครงการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้ได้มาตรฐานพร้อมให้บริการประชาชน 3.โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ(DHS) เพื่อระบบสุขภาพของประชาชน ที่เหมาะสม 4.โครงการพัฒนาและส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับบริการที่มีคุณภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 5.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยบริการปฐมภูมิ มาตรการ 5Project เด่น เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ - พัฒนาศักยภาพและจัดตั้ง ศสม. / รพ.สต.ให้เหมาะสมกับจำนวนประชากร - สัดส่วนผู้ป่วย DM/HT ไปรับบริการที่ ศสม./รพ.สต.มากกว่าร้อยละ 50 - เพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการด้านกายภาพบำบัดและฟื้นฟู 50% - มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - มีการพัฒนาบุคลากรในประเด็นที่ขาดตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว ให้ครอบคลุมการบริการกลุ่มวัยมากกว่าร้อยละ 80 • ลดความแออัดของผู้รับบริการใน รพ.สต. • และเพิ่มการเข้าถึง • ศสม. / รพ.สต. ทุกแห่งจัดบริการด้าน • เวชศาสตร์ครอบครัว • - เพิ่มแพทย์ F.med / พยาบาลเวชปฏิบัติ • - ทุกอำเภอมี DHS ที่มีประสิทธิภาพ • มีแผนกำลังคนตามเกณฑ์และดำเนินการ • ตามแผน
20 อันดับ PDxที่มีการส่งต่อข้ามเขต จากทุกจังหวัดภายในเขต
๑๐ อันดับโรคที่มี CMI <0.5 เขตสุขภาพที่ ๖
1.พัฒนาระบบบริการโรคหัวใจตามตัวชี้วัด1.พัฒนาระบบบริการโรคหัวใจตามตัวชี้วัด • อัตราตาย STEMI ปี 2556 ร้อยละ 15.5 • โรงพยาบาล A-F1 ที่สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ ทำได้ 5/9 แห่ง • โรงพยาบาล A-F1 มีการให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ทำได้ 3/9 แห่ง • อัตราตาย STEMI น้อยกว่าร้อยละ 10 • จัดตั้ง Heart Failure Clinic ใน รพ. A-S ทุกแห่ง • ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้รับการดูแลและยาตามมาตรฐานการรักษามากกว่า ร้อยละ 50 • โรงพยาบาล A-F1 ที่สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ทุกแห่ง • โรงพยาบาล A-F1 มีการให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ทุกแห่ง
ตารางแสดงเป้าหมายการพัฒนาเครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute STEMI network) เครือข่ายบริการที่ 6
ความก้าวหน้าตามเป้าหมายของ service plan เครือข่ายจ.ระยอง ระดับ STEMI NSTEMI wafarin ให้SK มียาanticoag มี wafarin clinic ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย / / / / / A3 ๑. รพ.ระยอง / / ๒. รพ.แกลง / / / M1 / / X ๓. รพ.มาบตาพุด / / / M1 / X ๔. รพ.บ้านฉาง / / / F1 / / / X / ๕. รพ.บ้านค่าย X F2 / / / X / ๖. รพ.ปลวกแดง F2 X / / / X / X ๗. รพ.วังจันทร์ F2 / / / X / ๘. รพ.นิคมพัฒนา F2 X / / X X ๙. รพ.เขาชะเมาฯ / F2 X / X /
2.การพัฒนาระบบโรคมะเร็งตามตัวชี้วัด2.การพัฒนาระบบโรคมะเร็งตามตัวชี้วัด • อัตราตายด้วยโรคมะเร็งลดลง • อัตราผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดโดยหน่วยบริการในพื้นที่ • สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 • คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า 50% ใน 3 ปี • ทุก รพ.ได้รับการพัฒนาจนได้ระดับ 1, 2, 3, 4 ตามที่กำหนด • ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ไม่น้อยกว่า 80) • ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ไม่น้อยกว่า 80)
3.การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุตามตัวชี้วัด3.การพัฒนาระบบบริการอุบัติเหตุตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ • ร้อยละของผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ (สีเหลืองและสีแดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 10 นาที ที่ได้รับแจ้งเหตุ (EMS) • ร้อยละของ ER คุณภาพ • การตายใน รพ.ที่มีการให้ PS>0.75 ตายน้อยกว่า 1% • อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร น้อยกว่า 10 ต่อแสนประชากร • ทุก รพ.ได้มาตรฐานบริการ ระดับ 1,2,3,4 ตามที่กำหนด
4.การพัฒนาระบบบริการทารกแรกเกิดตามตัวชี้วัด4.การพัฒนาระบบบริการทารกแรกเกิดตามตัวชี้วัด • อัตราตายทารก ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพ • ให้การรักษา Birth Asphyxia ด้วย Systemic Hypothermia ได้ • ภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่า ร้อยละ 30 • ลดการส่งออกนอกเครือข่าย • มีจำนวนเตียง NICU เพียงพอต่อการให้บริการในเขตบริการ • รพ.ระดับ A, S สามารถ Supply TPN ให้ รพ.ขนาดเล็กในจังหวัด • แต่ละเขตบริการ สามารถผ่าตัดทารกแรกเกิดที่มีปัญหาทางศัลยกรรมได้ 1 แห่ง • แต่ละเขตบริการสามารถทำ Closed Heart Surgery ได้ 1 แห่ง • แต่ละเขตบริการ สามารถทำ Laser ROP ได้ 1 แห่ง
ตัวชี้วัดตามกรอบประเด็นการตรวจราชการตัวชี้วัดตามกรอบประเด็นการตรวจราชการ • ลดอัตราการเสียชีวิตใน รพ.ของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม • ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) • ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70)
ตัวชี้วัดสำคัญสาขาทารกแรกเกิด จ.ระยอง • ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย • ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
แผนการพัฒนา • ตั้ง node แบ่ง zone การรับ-ส่งต่อที่ชัดเจน • มีแนวทางการรับ-ส่งต่อร่วมกัน • มีระบบการให้คำปรึกษาภายในเครือข่าย • ลดการRefer ออกนอกเครือข่าย พัฒนาระบบการรับ-ส่งต่อ • การส่งกลับโรงพยาบาลชุมชนเมื่อพ้นภาวะวิกฤต • พัฒนาศักยภาพบุลากรทั้งด้านความรู้และการปฏิบัติ พัฒนาระบบ พบส • การ supportTPN ใช้ทรัพยากรร่วมกัน • แผนรองรับบุคลากรที่ขาดแคลน..กุมารแพทย์โรคหัวใจ/แพทย์เฉพาะทางทารกแรกเกิด/พยาบาลเฉพาะทาง • แผนครุภัณฑ์ทางการแพทย์..ที่เหมาะสมกับสถานบริการ • แผนการเพิ่มจำนวน NICU , SNB NICU , SNBเพียงพอ
5.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามตัวชี้วัด5.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ • ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ (70) • ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าร้อยละ 31) • อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง น้อยกว่า ร้อยละ 10 • บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ได้มาตรฐานใน 5 ปี
6.การพัฒนาระบบบริการกลุ่มโรค5 สาขาหลักตามตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ • ส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ 50 • มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบและผู้ป่วยสำคัญอื่น ๆ ออกจาก รพศ.(A) ไปยัง รพ.ในเครือข่ายที่เครือข่ายเป็นผู้กำหนด >50% ใน 2 ปี • อัตราการส่งต่อนอกเครือข่ายลดลง ร้อยละ 20 • ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก ได้รับการผ่าตัดไม่เกิน 8 วันทำการ • มีการผ่าตัด case elective C/S ใน M1,M2 ภายในปี 2556 • เพิ่มศักยภาพด้านศัลยกรรมใน รพ.เครือข่ายระดับ M2
7.การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวมตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ • ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) • มี ศสม. ตามเกณฑ์มาตรฐาน • สัดส่วน OPD โรคเรื้อรังใน ศสม. และ รพ.สต. มากกว่า ร้อยละ 50 ภายใน 3 ปี
8. การพัฒนาระบบบริการ ทันตกรรมตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ 57 • ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น (45) • เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 55 • ผู้สูงอายุ รอคิวทำฟันเทียม ไม่เกิน 6 เดือน • มีการจัดบริการทันตสุขภาพโดยทันตแพทย์และ/หรือ ทันตาภิบาล ใน ศสม. ทุกแห่ง ใน 1 ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลำดับ • ประชาชนทุกกลุ่ม เข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากร้อยละ20 • ใน รพ.สต. มีบริการทันตสุขภาพเพียงพอและเข้าถึงใน 3-5 ปี ตามแผนที่เครือข่ายดำเนินการ
9.1 การพัฒนาระบบบริการ โรคไตตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ 57 • คิวบริการ HD, CAPD มีบริการอย่างไม่มีคิวใน 3 ปี • มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปเป็นอย่างน้อยใน 1 ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลำดับ • ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังลดลง (CKD) (ปัจจุบัน 17.6 % ของประชากร) • การบำบัดทดแทนไต (CAPD & HD) ใน รพ. M2 ทุกแห่ง • ผ่าตัดเปลี่ยนไต (KT) อย่างน้อย 1 แห่ง ในแต่ละเขตสุขภาพ
9.2 การพัฒนาระบบบริการ โรคตาตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ 57 • ระยะเวลารอคอย Cataract Low Vision (20/70) < 90 วัน • ระยะเวลารอคอย Blinding (10/200) < 30 วัน (85%) • ลดอัตราความชุกโดยการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก DR 0.59% (ปี 2557) • ระยะเวลารอคอย Blinding (10/200) มากกว่า 30 วัน
10. การพัฒนาระบบบริการ NCD, DM, HT ตัวชี้วัดตามเป้าหมายการพัฒนา • DM & HT • อัตราตายจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง • การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 60 • ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง • สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50) • คลินิก NCD คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 • ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงร้อยละ 90
ตัวชี้วัดกรอบตรวจราชการ 57 • ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) • ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) • ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50) • ร้อยละของผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น • การพัฒนาบริการให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือด SFT (Stroke Fast Tract) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ
การจัดบริการร่วม • การจัดบริการกำลังคนร่วม • การจัดบริการเตียงร่วม • การจัดบริการเครื่องมือแพทย์ร่วม • การเข้าถึงบริการร่วม
เกณฑ์ ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า 1.6
หมายเหตุ 1. ไม่รวมการคลอด และทารกแรกเกิด 2. ผู้ป่วยในที่มี AdjRW < 0.5 ร้อยละ 34.42 3. ข้อมูลเดือน ตค.-ธค.56
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ตามตัวชี้วัด • มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับ • มีแผนกำลังคนและดำเนินการตามแผน • ร้อยละของรายการจัดซื้อ จัดจ้าง งบลงทุนสามารถลงนามในสัญญาได้ไตรมาสที่ 1 • ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมในปี งปม.2557 (ไม่น้อยกว่า 95) • มีแผนการเงินการคลังและดำเนินการตามแผน • ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมให้หน่วยบริการในพื้นที่มีปัญหาการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 • หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ • ลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา • การจัดระบบควบคุมภายในมีความเหมาะสมตามมาตรฐาน • การบริหารความเสี่ยงและจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม