1 / 66

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนราชการระดับจังหวัด

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนราชการระดับจังหวัด. PMQA. เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วันที่ 17 ธันวาคม 255 3. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ. 2.

freya-hale
Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนราชการระดับจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554ส่วนราชการระดับจังหวัด PMQA เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วันที่ 17 ธันวาคม 2553

  2. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2

  3. TQM : Framework PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3

  4. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) การนำองค์การ (มาตรา 8,9,12,16,18,20, 23,27,28,43,44,46) ผลลัพธ์การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39) 4

  5. รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Quality Performance / Organizational Excellence 5

  6. Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework Organizational Profile: Environment, Relationships, and Challenges 2 Strategic Planning 5 Human Resource Focus 7 Business Results 1 Leadership 6 Process Management 3 Customer& Market Focus 4 Information, Analysis, and Knowledge Management Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm 6

  7. Total Quality Management:TQM 1. Leadership Customer Satisfaction 2. Strategic Plan Goals / Strategies 3. Customer Focus 4. Information & KM Concepts Vehicles Techniques 5. Human Focus 6. Process Management 7. Results Motivation Approach Intrinsic Technology General Education/Political Stability 7

  8. หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 2 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 6 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง ความคล่องตัว 10 3 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ 8

  9. หลักคิด : 11 Core Values ปรับ คิด ทำ 11 6 8 Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility คล่องตัว Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม 10 1 4 5 7 Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 2 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Improve the organization Lead the organization Manage the organization 9 9

  10. การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA TQM Concept PMQA Framework Criteria / Score (Assessment Tool) Management Concept Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Assessment Report (SW) Improvement Plan (Tools & Standards) 10

  11. แนวทางการประเมิน การประเมิน หมวด 1 - 6ADLI การประเมิน หมวด 7LeTCLi

  12. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 12

  13. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 13

  14. เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level) ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 100 90 80 70 60 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 50 40 30 20 10 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์ 14

  15. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Progressive Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 15

  16. 16

  17. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 17

  18. การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2554 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากเกณฑ์ฯ ปี 2553 • ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานทั้ง 7 หมวด เนื่องจากจังหวัดจะต้องได้รับการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL ) เพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบบบริหารจัดการในระดับก้าวหน้าที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป ดังนั้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จึงไม่ได้กำหนดค่าน้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดในส่วนที่เกี่ยวกับการดำเนินการปรับปรุงองค์การในส่วนที่ไม่ผ่านการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (แผนซ่อม) • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวด 7เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้ง 6 หมวด ซึ่งจังหวัดจะเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาหมวดละ 1 ตัวชี้วัดเพื่อสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการ และเป็นจุดเน้นที่สำคัญที่จังหวัดต้องการผลักดันการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบกับตัวชี้วัดที่เลือกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 นี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 18

  19. การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2554 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากเกณฑ์ฯ ปี 2553 • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการที่จังหวัดได้คัดเลือกมาในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (แบบฟอร์ม 4.2) และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 นั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ให้คะแนนความครบถ้วนตามตัวชี้วัดย่อย 15.3.3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แล้ว สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554ขอยกเลิกการให้คะแนนผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าว เนื่องจากได้มากำหนดเป็นตัวชี้วัดในหมวด 7 ซึ่งสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการที่ครอบคลุมทุกหมวดแล้ว • จังหวัดควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่จังหวัดได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Progressive Level 19

  20. ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2554 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายหมวด (2 หมวดที่เหลือ และหมวด 7 เลือกตัวชี้วัดแนะนำหมวดละ 1 ตัว) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การ • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 53 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ: หมวด 2,3 และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 31 ต.ค. 2554 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน • ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA • ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดภาคบังคับ : หมวด 5,6) 20

  21. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 21

  22. องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) • ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level • ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ • ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level 22

  23. ตัวอย่างการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 2 คำอธิบาย การจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานนั้น จังหวัดอาจใช้โปรแกรม Microsoft Project ในการจัดทำรายละเอียดดังกล่าว ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของแผนการดำเนินงาน แผนการใช้งบประมาณ และแผนการบริหารกำลังคน ได้อย่างครบถ้วน ทำให้การติดตามผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วิธีการประเมิน ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet • A - มีการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ซึ่งต้องประกอบด้วย • ระยะเวลาดำเนินการในแต่ละกิจกรรม • ผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนงาน/โครงการ • การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรด้านอื่น ๆ • D - แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในการดำเนินการตามรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ ตามที่กำหนด • - แสดงให้เห็นถึงมีการติดตามผลการดำเนินงานตามพัฒนาจังหวัด 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี โดยผ่านการติดตามการดำเนินงานในแต่ละแผนงาน/โครงการ 23

  24. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 24

  25. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 25

  26. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 26

  27. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 27

  28. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Customer and Stakeholder Focus) 28

  29. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Customer and Stakeholder Focus) 29

  30. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(Information and Technology) 30

  31. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(Information and Technology) 31

  32. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource) 32

  33. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) 33

  34. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 34

  35. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 35

  36. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 36

  37. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 37

  38. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 38

  39. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 39

  40. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 40

  41. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2554 แนวทางการนำไปใช้ • เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด • วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด • การส่งมอบงาน 41

  42. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2553 2553 2551 2552 2549 2550 พัฒนาเกณฑ์คุณภาพฯ และการประเมินองค์การด้วยตนเอง เกณฑ์ Fundamental Level • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์การ • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • ใช้กรอบแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” • “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีดังกล่าวให้ต่อเนื่อง เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้นก้าวหน้า (Progressive Level) ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป • น้ำหนักร้อยละ 22 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” 42

  43. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์การ ส่งเสริมให้มีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • ให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบการบริหารจัดการที่ดีที่จังหวัดได้ดำเนินการมาแล้วในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level: PL) ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ. 2555 2554 43

  44. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 การประเมินผลตัวชี้วัด 44

  45. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 11.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน : วัดความสำเร็จของกระบวนการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ โดยเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็นดังนี้ 45

  46. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 11.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) • จังหวัดเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 1 – 6 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดแนะนำของสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนหมวดละ 1 ตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าน้ำหนักคะแนนเท่ากันทุกตัวชี้วัด และผลรวมของน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดรวมกันเท่ากับ 1 (รายละเอียดตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าวปรากฏในภาคผนวก ข) ทั้งนี้ ให้จังหวัดแจ้งรายชื่อตัวชี้วัดที่เลือกดังกล่าวมาพร้อมกับการรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือนตามแบบฟอร์มที่ 1 ตารางและสูตรการคำนวณ : หมายเหตุ: เกณฑ์การให้คะแนนจะแตกต่างกันในแต่ละตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดตามภาคผนวก ข 46

  47. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 11.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน • การประเมินองค์การด้วยตนเองนั้น ให้จังหวัดดำเนินการ ดังนี้ • 1. จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • 2. ประเมินองค์การด้วยตนเองหมวด 1 – 7 ตามโปรแกรมตรวจประเมิน FL • 3. ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานตามโปรแกรม Self Certify FL 47

  48. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 11.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ 48

  49. การรายงานผลตัวชี้วัด PMQA 54 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ 49

  50. แบบฟอร์มรายงานผลตัวชี้วัด PMQA 54 • การรายงานผลคะแนนของตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ 50

More Related