1 / 133

การติดตามผลและการประเมินผลด้วยเครื่องมือ PART

P. S. BB. ART. ผลกระทบ. การติดตามผลและการประเมินผลด้วยเครื่องมือ PART. ผลลัพธ์. ผลผลิต. กิจกรรม. งบประมาณ. สำนักงบประมาณ. มวยไทย คู่หยุดโลก. ไม่ต้อง สับสน มึนงง กลัว เรื่องทำ PART. การประเมินผลตนเอง( Self -Assessment ). การประเมินผลปัจจุบัน. กพร. สำนักงบประมาณ.

gin
Download Presentation

การติดตามผลและการประเมินผลด้วยเครื่องมือ PART

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. P S BB ART ผลกระทบ การติดตามผลและการประเมินผลด้วยเครื่องมือPART ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ สำนักงบประมาณ

  2. มวยไทยคู่หยุดโลก

  3. ไม่ต้อง สับสน มึนงง กลัวเรื่องทำPART

  4. การประเมินผลตนเอง(Self -Assessment) การประเมินผลปัจจุบัน กพร สำนักงบประมาณ • ประเมินผลความสำเร็จ • การดำเนินงานขององค์กร • ใช้เครื่องมือ BSC • (Balance scorecard) • ใช้ PMQA • ประเมินผลของความสำเร็จ • จากการใช้จ่ายงบประมาณ • ใช้เครื่องมือ PART

  5. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA Public Sector Management Quality Award : A ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การปฏิบัติการ การนำองค์กร B C 2. การวางแผน ยุทธศาสตร์และ กลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ ทางธุรกิจ 1. การนำ องค์การ 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ พื้นฐานของระบบ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  6. ความแตกต่างระหว่าง PART กับ PMQA ค่าใช้จ่าย วางแผนกลยุทธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์/ ผลกระทบ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเครือข่ายพหุภาคี มาตรฐานการผลิต และการบริการ การจัดการความรู้ และสารสนเทศ ภาวะผู้นำ ยุทธศาสตร์กำลังคน บริหาร-พัฒนาบุคคล HRscorecard PART - ความคุ้มค่า PMQA คำรับรอง?

  7. Performance Assessment Rating Tool เครื่องมือวิเคราะห์ความสำเร็จ ของการดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ

  8. PART เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ Performance = ความสำเร็จของการดำเนินงานของผลผลิต (จากการใช้จ่ายงบประมาณ) Assessment = ประเมิน (ก่อนให้งบประมาณ โดยดูความพร้อมเกี่ยวกับการออกแบบทิศทางและกลยุทธ์เพื่ออนาคต แผนปฏิบัติการและต้นทุน ที่ของบประมาณ กิจกรรมสนับสนุนในปัจจุบัน และผลการดำเนินงาน ที่ผ่านมา) Rating = การจัดระดับหรืออันดับ Tool = เครื่องมือ (หรือวิธีการ หรือเทคนิค) ไม่ใช่ระบบ (System)

  9. ปี 2548 20 หน่วยงาน ปี 2549 40 หน่วยงาน 20 กระทรวง ปี 2550 จัดทำคู่มือ 5 ด้าน ปี 2551 200 หน่วยงาน 20 กระทรวง (ตามมติ คณะรัฐมนตรี) ปี2552 ทดลองใช้ PARTจังหวัด ปี2553 เริ่มใช้ PART จังหวัด

  10. ทำไมต้อง PART เพื่อจัดทำงบประมาณ SPBB ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อวัดความสำเร็จในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า เพื่อให้มีข้อมูลสาระสนเทศประกอบการตัดสินใจใน ขบวนการจัดการงบประมาณของ สำนักงบประมาณ หน่วยงานภาครัฐ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ

  11. ประโยชน์ของ PART ●หน่วยงานนำไปใช้กำหนดนโยบายและปรับทิศทางการทำงานแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินงาน ปรับแผนปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มผลงานไปสู่เป้าหมายยุทธศาสตร์ ของรัฐบาล ●สำนักงบประมาณ คณะรัฐมนตรีและฝ่ายนิติบัญญัติใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจใจขบวนการงบประมาณ ติดตามความก้าวหน้าปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานบริหารจัดการงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ

  12. ผล PART ใช้ประโยชน์ในกระบวนการงบประมาณ การใช้ประโยชน์ ผู้ใช้ประโยชน์ ขั้นตอน จัดทำงบประมาณ จังหวัด กลุ่มจังหวัด สำนักงบประมาณ จัดทำคำของบประมาณ วิเคราะห์คำของบประมาณ พิจารณาอนุมัติ อนุมัติงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี รัฐสภา บริหารงบประมาณ ปรับแผนโอนเปลี่ยนแปลง /เบิกจ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ จังหวัด กลุ่มจังหวัด กรมบัญชีกลาง จังหวัด กลุ่มจังหวัด สำนักงบประมาณ สตง. กพร. ประชาชน หรือ NGO ควบคุมติดตาม ประเมินผล ติดตามการใช้จ่ายเงิน รายงานผลการใช้จ่ายเงิน 13

  13. แนวคิดของ PART 5 ผลกระทบ 4 ผลลัพธ์ 3 ผลผลิต 2. กิจกรรม 1. งบประมาณ ผลการดำเนินงานที่ดี เกิดจากการดำเนินงานตามขั้นตอนที่มีความ สัมพันธ์และต่อเนื่องกันทั้งระบบ

  14. 15

  15. Toyota เหนือกว่า Honda จริง ๆ

  16. ข่าวดี Toyota ผลิตรถไม่ใช้น้ำมันได้แล้ว

  17. องค์ประกอบของ PART 1. คำถาม 5 ชุด รวม 30 ข้อ 2. คำตอบ ( คำบรรยาย ) 3. หลักฐานประกอบคำตอบ

  18. พิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลักพิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลัก 5 ชุดคำถามของ PART • ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ คิด 1 -ดูจุดหมายปลายทาง -ดูกลุ่มเป้าหมาย -ดูเพื่อนร่วมงาน - ดูตัวเอง วางแผน • จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ • เปรียบเทียบแผนกับผล • - การเพิ่มประสิทธิภาพ • - การใช้เงินอย่างคุ้มค่า • ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ 5 2 ผล ง. การบริหารจัดการ - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูกกับเงิน • ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ • เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • ต้นทุนแท้จริง 4 ทำ 3

  19. ความสัมพันธ์ของคำถาม ง.การบริหารจัดการ ก.จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ผลผลิต เป้าหมาย ระยะยาว ผลลัพธ์ 1 5 2 6 3 4 ข.การวางแผนกลยุทธ์ จ. ผลผลผลิต/ผลลัพธ์ 1 1 5 5 2 2 7 6 6 7 3 3 4 4 ค.การเชื่อมโยงงบประมาณ เป้าหมาย ประจำปี 1 1 5 5 2 2 3 3 4 4 3 ข้ามวง 1 ภายในวง 2 ระหว่างวง

  20. คำตอบ PART หมวด ก. – ง. ตอบ ใช่(Yes) กับ ไม่ใช่(No) หมวด จ. ตอบ ได้ กับ ไม่ได้ ตอบ ไม่เกี่ยวข้อง กรณีขอยกเว้น

  21. ตรงประเด็นไม่ยืดยาวแบบนี้

  22. เอกสารประกอบคำตอบ เชื่อถือได้ ตรวจสอบที่มาที่ไปได้ มีความถูกต้องชัดเจน จัดทำมาแล้วตามขั้นตอน มีลายเซ็นต์ผู้รับผิดชอบ “ไม่ใช่เอกสารจัดทำขึ้นมาใหม่”

  23. หลักฐานต้องชัดเจนเพื่อไม่ให้เข้าใจผิดหลักฐานต้องชัดเจนเพื่อไม่ให้เข้าใจผิด

  24. ช่วงเดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ PART ใช้เมื่อไหร่ วิเคราะห์ผลผลิตเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เช่น ทำการวิเคราะห์ปี 53 ผล PART จะใช้ปรับปรุงการบริหารงบประมาณปี 54 เตรียมวางแผนจัดทำงบประมาณปี 55 28

  25. ขั้นตอนการปฏิบัติงานการใช้ PART 1 ทีม PART ประชุมชี้แจงให้แก่ส่วนราชการ เรื่องคู่มือและหลักเกณฑ์ในการใช้เครื่องมือ PART 1 2 ส่วนราชการส่งคำตอบ 30 ข้อ พร้อม เอกสารประกอบคำตอบให้สำนักงบประมาณ 3 ทีม PART ร่วมพิจารณาคำตอบและเอกสารประกอบ 29

  26. ประชุมตอบข้อซักถามและชี้แจงเหตุผลประกอบประชุมตอบข้อซักถามและชี้แจงเหตุผลประกอบ คำตอบพร้อมขอเอกสารเพิ่มเติม ส่งเอกสารเพิ่มเติม ( ถ้ามี ) ทีม PART ร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์ ระดับความสำเร็จผลการดำเนินงานของส่วนราชการ โดยใช้เกณฑ์คะแนนพร้อมจัดทำร่างรายงาน

  27. 7 เสนอร่างรายงานผลการวิเคราะห์ให้คณะกรรมการ พิจารณาผลการใช้ PART เห็นชอบ โดยแปรผลคะแนนเป็นลักษณะสี ( แดง เหลือง เขียว ) และ รูปกราฟเรดาห์ เสนอผลการวิเคราะห์ต่อผู้อำนวยการ สำนักงบประมาณเพื่อให้ความเห็นชอบ จัดพิมพ์เอกสารรายงานผลระดับความสำเร็จ แสดงต่อสาธารณะ 9

  28. บุคคลที่เกี่ยวข้องการใช้ PART ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบกิจกรรมที่นำส่งผลผลิต ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการมอบหมายให้ตอบคำถามPART ฝ่ายแผน/นโยบาย และงบประมาณ ฝ่ายคลัง ฝ่ายบุคลากร/KM ฝ่ายติดตามประเมินผล 32

  29. ใครเป็นผู้ที่ตอบคำถาม PART จังหวัด มาตรา 10 ในจังหวัดหนึ่ง ให้มีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการคณะหนึ่งประกอบด้วย (1) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ (2) รองผู้ว่าราชการจังหวัดทุกคน (3) ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะมีฐานะเป็น ราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลาง (4) ผู้แทนรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินกิจการอยู่ในจังหวัด (5) ผู้แทนหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัด (6) ผู้แทนผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (7) ผู้แทนภาคประชาสังคม (8) ประธานกรรมการหอการค้าจังหวัด และประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด …ให้หัวหน้าสำนักงานจังหวัด (พรฎ.การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551). 33

  30. ผู้ตอบคำถาม PART ชุด ก : จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ผู้ตอบ : ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานตอบ ชุด ข : วางแผนกลยุทธ์ ผู้ตอบ : ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ชุด ค : การเชื่อมโยงงบประมาณ ผู้ตอบ : ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการ

  31. ชุด ง : การบริหารจัดการ ผู้ตอบ : หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต ชุด จ : ผลผลิต / ผลลัพธ์ ผู้ตอบ : ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้าน ยุทธศาสตร์ และ ด้านประเมินผล

  32. ตอบอย่างไร :ตอบข้อเท็จจริง ใช่ มีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง นำมาใช้ประโยชน์ :ยังไม่มี ยังไม่ทำ ยังไม่ครบถ้วน ยังไม่ถูกต้อง ยังไม่นำมาใช้ประโยชน์ ไม่ใช่

  33. ตอบไม่ชัดเจน

  34. แนวทางพิจารณาคำตอบ ยึดข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ดูเอกสารประกอบ คำตอบเป็นหลัก • ความรู้สึกส่วนตัว • คำตอบที่คลุมเครือ ไม่ใช้

  35. ไม่ภลุมเครีอและไม่ชัดเจนแบบนี้

  36. คะแนนรวมของคำถามแต่ละชุดคะแนนรวมของคำถามแต่ละชุด จ.ผลผลิต / ผลลัพธ์ 30 คะแนน ก.จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 10 คะแนน ข.การวางแผนกลยุทธ์ 20 คะแนน ง.การบริหารจัดการ 20 คะแนน ค.การเชื่อมโยงงบประมาณ 20 คะแนน วางแผน50(ก+ข+ค) เหตุ 70 (ก+ข+ค+ง)ผล 30 (จ) ทำ 20 (ง) ผล 30 (จ) คะแนนรวมทุกชุดคำถาม =100 คะแนน 40

  37. 1.คำถามชุด ก. ถึง ง. ตอบ “ไม่ใช่” มีค่าเท่ากับ“ 0 ” ตอบ“ใช่”มีค่าเท่ากับคะแนนของข้อนั้น การให้คะแนน 2. ใช้ ชุด จ. มี 4 ระดับ ให้คะแนนตามลำดับผลงานที่เกิดขึ้น เช่น ตอบ น้อยมาก เมื่อเทียบแผนกับผลอยู่ในช่วง 0 – 25มีค่าคะแนนเท่ากับ 0 ของคะแนนข้อนั้น ตอบ น้อย เมื่อเทียบแผนกับผลอยู่ในช่วง 25 - 50 มีค่าคะแนนเท่ากับ 0.33 (1 ใน 3 ของคะแนนข้อนั้น) ตอบ ปานกลาง เมื่อเทียบแผนกับผลอยู่ในช่วง 50 - 75 มีค่าคะแนนเท่ากับ 0.67 (2 ใน 3 ของคะแนนข้อนั้น) ตอบ มาก เมื่อเทียบแผนกับผลอยู่ในช่วง 75 - 100 มีค่าเท่ากับ 1 (เท่ากับคะแนนของข้อนั้น) 3.สำหรับคำตอบของข้อที่“ ไม่เกี่ยวข้อง ”จะไม่ให้คะแนน ในข้อดังกล่าว แต่ปรับสัดส่วนของคะแนนโดยเฉลี่ยไปให้ข้อที่เหลือภายในชุดคำถามเดียวกัน

  38. การสรุปผลการวิเคราะห์ระดับ คะแนนรวม • ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 60 คะแนน แสดงผลเป็นสีแดง • ได้คะแนนรวมอยู่ในช่วง 60 - 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเหลือง • ได้คะแนนรวมมากกว่า 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเขียว

  39. ชุดคำถาม ผลที่ได้ คะแนนเต็ม กราฟเรดาร์ ก จุดมุ่งหมาย 2 10 ข การวางแผนกลยุทธ์ 14 20 ค การเชื่อมโยงงบประมาณ 15 20 ง การบริหารจัดการ 16 20 จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ 3 30 ผลรวม 50 100 กลุ่มสี สีแดง ผลการประเมิน

  40. ผลPART มาใช้ปรับปรุงแก้ไข(อย่างต่อเนื่อง) • การวางแผนงบประมาณ • SWOTขาดการมีส่วนร่วม • เป้าหมาย &KPI ไม่ชัดเจน ไม่ครบ ไม่ถูกต้อง • ขาดการประสานงาน • ไม่มีUnit cost • ผลของPARTที่หน่วยงานแสดงผลความสำเร็จของการใช้จ่ายผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณพบว่า • ไม่สามารถแสดงผลได้ • แสดงผลต่ำกว่าเป้าหมาย บริหารจัดการ • แผนงานแผนเงินไม่ชัดเจน • Data base ไม่สมบรูณ์ ไม่พัฒนาเป็น MIS • ขาดการรายงานข้อมูลย้อนกลับ • ไม่ได้ใช้ประโยชน์ Unit cost การติดตามประเมินผล • ขาดการวางระบบติดตามประเมินผล • ภายใน/ภายนอก

  41. นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์

  42. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์เปรียบเทียบกับ กลุ่มสังคม ที่เป็นเป้าหมายการให้บริการ ปรับแผนระดับGoal กลุ่มจังหวัด

  43. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์เปรียบเทียบกับ กลุ่มสังคม ที่เป็นเป้าหมายการให้บริการ ปรับแผนระดับGoal กลุ่มจังหวัด

  44. กลุ่มเป้าหมายและลักษณะผลประโยชน์กลุ่มเป้าหมายและลักษณะผลประโยชน์ การปรับตัวชี้วัดผลลัพธ์ (2Q2T1P) เชิงปริมาณ Quantity เชิงคุณภาพ Quality กลุ่มเป้าหมาย Target Group เวลา/สถานที่ Time Place ปรับแผนระดับ Outcome จังหวัด

  45. กลุ่มผลผลิตที่สัมพันธ์กับกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมกลุ่มผลผลิตที่สัมพันธ์กับกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริม การปรับตัวชี้วัดผลผลิต (QQCT) ปริมาณ Quantity คุณภาพ Quality ต้นทุน Cost เวลา Time ปรับแผนระดับ Output จังหวัด

  46. กิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริมกิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริม การปรับตัวชี้วัดกิจกรรม ปริมาณ Quantity ปริมาณ Quantity เวลา Time งบประมาณ ปรับระดับ Activity กิจกรรมจังหวัด

  47. ปรับปรุงแก้ไข(อย่างต่อเนื่อง)ปรับปรุงแก้ไข(อย่างต่อเนื่อง) สรุปการใช้ประโยชน์จากผล PART อนาคต การวางแผน งบประมาณ อดีต ปี 2555 ผล PART ปี 53 1. ปรับปรุงการ ดำเนินงานของ หน่วยงาน 2. ใช้ประโยชน์ กระบวนการ งบประมาณ บริหารจัดการ งบประมาณ ปัจจุบัน ปี 2554

More Related