440 likes | 1.47k Views
Dengue hemorrhagic fever. พญ วาสนา วินัยพานิช. การจำแนกความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออกใหม่ ของ WHO. การดูแลรักษา. แบ่งตามระยะของโรคคือ 1.ระยะไข้ 2-7 วัน 2.ระยะวิกฤต นาน 24-48 ชม.เกิดเร็วสุด D 3ของไข้ 3.ระยะฟื้นตัว 24-48 ชม.หลังสิ้นสุดระยะวิกฤต.
E N D
Dengue hemorrhagic fever พญ วาสนา วินัยพานิช
การจำแนกความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออกใหม่ ของ WHO
การดูแลรักษา แบ่งตามระยะของโรคคือ 1.ระยะไข้ 2-7 วัน 2.ระยะวิกฤต นาน 24-48 ชม.เกิดเร็วสุดD3ของไข้ 3.ระยะฟื้นตัว 24-48 ชม.หลังสิ้นสุดระยะวิกฤต
การดูแลรักษาระยะไข้ • การลดไข้ ใช้paracetamol อย่างเดียวเท่านั้น(10mg/kg/dose) ให้ห่างกันอย่างน้อย 4-6 ชม. และต้องเช็ดตัวลดไข้ร่วมด้วยเสมอ • ห้ามให้ ASAหรือNSAIDเพราะจะเกิดGI bleedได้ง่าย • อาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารสีดำ แดง และน้ำตาล • ดื่มนม น้ำผลไม้ และORS • IV fluid จะให้เมื่อมี moderate dehydration • Domperidoneถ้าอาเจียน /H2 blockerถ้ามีHx PU • Antibiotics ไม่ควรให้เพราะเพิ่มrisk ในการแพ้ยา • นัดFU CBCทุกวันเริ่มจากD3+ แนะนำwarning sign
ผลการตรวจ CBCจะช่วยบอกระยะของโรค • WBC<5000และlymphocyte เพิ่ม ไข้จะลงใน 24 ชม. • Platelets <100,000 กำลังจะเข้าระยะวิกฤต • Hct เพิ่มขึ้น 10-20 % ร่วมกับมีPlt<100,000 แสดงว่ากำลังมี leakage
Admition criteria sever vomiting / fatique hemoconcentration 10 -20% afebrile + clinical sever shock : cold skin , sweating,oliguria conciouse change sever abdominal pain ผู้ปกครองกังวลมาก bleeding
การดูแลผู้ป่วยหนักแรกรับการดูแลผู้ป่วยหนักแรกรับ • A: acidosis • B: bleeding ให้cross match • C: hypocalcemia • S: blood sugar • Other lab : BUN ,Cr. ,electrolyte LFT. , PT , PTT, INR
การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหนักแรกรับการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหนักแรกรับ • OXYGEN ถ้า O2 SAT< 95% • DTXถ้า< 60mg% ให้20-50%glucose 1-2 cc/kg • Vit k1 iv ถ้า INR>1.3ให้vitk5mg ติดต่อกัน 3วัน • Hct ถ้าต่ำ ให้G/Mประเมินซ้ำอีกครั้งใน1ชม.ว่าต้องให้หรือไม่ • LAB:CBC, BUN ,Cr. ,electrolyte ,LFT • hyponatremia,hypocalcemiaได้,มีmetabolic acidosis(NaHCO3 1cc/kg ถ้าช็อคนาน) • 80% AST , ALTสูงขึ้นโดยASTสูงกว่า 2-3 เท่า AST/ALT>200 ระวัง liver failure • albumin<3.5ถ้ามีleakage • IV FLUID : 5%D/NSS : DEXTRAN ถ้า shock และมีอาการน้ำเกิน
การดูแลรักษาระยะวิกฤตการดูแลรักษาระยะวิกฤต การวินิจฉัยภาวะช็อก/leakให้เร็วที่สุด • ยากถ้าไม่ได้วัดBPหรือจับpulseเนื่องจากช่วงแรกความรู้สึกตัวดี • ไข้ลง แต่ ชีพจรเบาเร็ว • Pulse pressure แคบ เช่น 100/80,110/90 • Capillary refill >2 sec • กระสับกระส่าย เอะอะโวยวาย พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
การดูแลรักษาระยะวิกฤตการดูแลรักษาระยะวิกฤต • ให้ IV fluid ให้เมื่อมีHct เพิ่มขึ้น10-20%ร่วมกับ Plt100,000/cu.mm • ชนิดของIV fluid ต้องเป็นisotonic solution เท่านั้นเช่น 5%D/NSS,5%DAR,5%DLR แต่ถ้าProlong shock ไม่ควรมี dextrose • ถ้าเด็ก< 1 ปีให้5%D/N/2 ได้แต่ถ้า shock ให้5%D/NSSเหมือนกัน • ระยะเวลาให้IVไม่ควรเกิน24-48ชม. ถ้าไม่ดีขึ้นหลัง48 ชม.ควรระวัง complication
การดูแลรักษาระยะวิกฤตการดูแลรักษาระยะวิกฤต • เปลี่ยนIV fluid เป็น 5%D/NSSถ้าPlt100,000 • การวินิจฉัยว่าผู้ป่วย shockให้ดูหลายอย่างประกอบกันไม่ใช่ ดูHct สูงอย่างเดียว • ผู้ป่วยDHFgrade 3 ให้load5%D/NSS10cc/kg/hr ไม่จำเป็นต้องให้ถึง20cc/kg/hr
ปริมาณfluid ที่ให้ในระยะ leakage (24-48ชม.) • ผู้ป่วยน้ำหนัก <40 กก.ควรได้ IV= MT+5% Def. • ผู้ป่วยน้ำหนัก>40 กก ควรได้ IV ประมาณ 2MT • obesity ใช้ ideal BW : 2x+8 หรือ 7x-5 /2 • ผู้ป่วยผู้ใหญ่คำนวณน้ำหนักที่ 50 กก.คิดtotal=4600 • ไม่ควรสั่ง IV ล่วงหน้าเกิน 6 ชม. หรือสั่งเกิน 500 ซีซี • ให้ volume replacment = keep effective circulatory volume
อัตราการให้iv fluidในเด็กเทียบกับผู้ใหญ่
อัตราการให้IV FLUIDในผู้ป่วยที่ไม่SHOCK • เริ่มiv rate ที่50% MT โดยที่BW<15 ให้ 2cc/kg/hr BW 15-40 ให้1.5cc/kg/hr BW>40ให้40cc/hr • ถ้าHctเริ่มต้นสูงมากอาจเริ่ม iv rateที่ MT / MT+5%deficit (3-5cc/kg/hr) • ถ้าเป็นผู้ใหญ่เริ่มที่ 40cc/hrปรับตามอาการ แต่ถ้าHctเริ่มต้นสูงมากเช่น 50-60%ควรเริ่ม iv rateที่80-100cc/hr หลังจากนั้นปรับตามอาการโดยส่วนใหญ่จะมีการรั่วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆและสูงสุด ใน24 ชม. หลังจากนั้นอัตราการรั่วจะค่อยๆลดลงภายใน 24 ชม.
อัตราการให้ IV fluid ในผู้ป่วย DHF ที่ไม่มีอาการช็อก 7 ml/kg/hr 3 - 5 ml/kg/hr 15 ml/kg/hr
อัตราการให้iv fluid ในผู้ป่วยเด็กที่shock • DHF grade 3 ให้iv rate 10cc/kg/hr เมื่อ vital sign ดีขึ้น ลด ivเมื่อครบ 1ชม. • DHF grade 4 ให้iv free flow 10-15 นาที(10cc/kg in 15นาที) ถ้าดีขึ้น ให้ iv rate 10cc/kg /hr นาน ½-1ชม. แล้วปรับลด iv เหมือนDHF grade 3 ในผู้ป่วยที่shockส่วนมากจะมีการรั่วของพลาสมาหลังจากเวลา ที่ช็อคประมาณ 24ชม. ปริมาณ total iv fluid ใน 24ชม. = MT+5%
อัตราการให้iv fluid ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่shock • DHF grade 4ให้0.9%NSS free flow 10-15 นาที หลังจากที่เริ่มวัด BPได้ลดrate ivเหลือ300-500 cc/hr นาน1-2ชม • DHF grade 3 ให้5%D/NSS 300-500cc/hr นาน 1 ชม.ถ้า BPดีอาจลดเป็น 150cc/hr ได้เลย • หลังจากนั้นลดrate 5%D/NSS120 cc/hr นาน 1-2 ชม. • หลังจากนั้นลดrate5%D/NSS 80-100cc/hr นาน4-6 hr และค่อยๆปรับลดตามอาการจนสามารถ off ivได้ใน 24ชม. • Inotropic drug ไม่มีที่ใช้ในผู้ป่วย DHFที่shock ในระยะแรกเนื่องจากจะมีผลเสียทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นทั้งๆที่ plasma volume ยังไม่เพียงพอ จะทำให้ prolong shock
อัตราการให้ IV fluid ในผู้ป่วยไข้เลือดออกเด็งกี่ที่มีอาการช็อก (Dengue Shock Syndrome) ช่วงเวลาต่าง ๆ 10 – 5 ml/kg/hr 5 ml/kg/hr 3 ml/kg/hr 3 - 1 ml/kg/hr
ข้อควรระวังในผู้ป่วยDHFในผู้ใหญ่ข้อควรระวังในผู้ป่วยDHFในผู้ใหญ่ 1.ผู้ป่วยช็อคจะมีความรู้สึกตัวดีและcompensateได้ดี ถ้าไม่วัดBPหรือ จับชีพจรจะไม่รู้ว่ากำลังช็อค 2.คำนึงถึงunderlying dis.:IHD,PU, HT,DM,CRF 3.ถ้าพบภาวะshock หาสาเหตุไม่ได้และมีTT+veและwbc<5000 นึกถึงDHFเสมอ 4.ในผู้หญิงต้องซักประวัติประจำเดือนเสมอ ถ้ามีต้องให้primalute N 5.ถ้าปวดท้องมากและมีประวัติPUหรือประวัติยาแก้ปวดต้องคิดถึง GI bleedingเสมอต้องรีบให้เลือดถ้าให้ iv แล้วไม่ดีขึ้น 6.ถ้ามีunderlying HTอยู่เดิมในภาวะ shockผู้ป่วยอาจมีBP อยู่ในเกณฑ์ปกติ(แต่จะต่ำกว่าภาวะปกติของผู้ป่วย)
อาการทางคลินิกโดยทั่วไปเช่น ความอยากอาหาร ความรู้สึกตัว อาการปวดแน่นท้อง,lung sign ,abdominal distention,ผื่นตามตัว Vital sign: BT,BP,PP,PR ความแรงของpulseและcapillary refill F/U Hct q 4-6 hr และทำบ่อยขึ้นถ้ามีbleeding/ clinical unstable Urine out put 0.5-1 cc/kg/hr(q 8 hr) การประเมินอาการเพื่อปรับrate ivfluid
การให้ colloid solution Dose 10cc/kg/hrครบ1 hr Hctจะลดลง10%เมื่อให้ครบเปลี่ยน iv เป็น 5%D/NSSโดยลดrateลง Max dose 30cc/kg/dถ้ามากเกินBUN ,Cr สูง และมี coagulopathyได้ ถ้าได้ dextrane ไป 30cc/kg /day แล้วอาจพิจารณาให้สารอื่นที่มีosmole มากกว่า plasma ได้แก่ 10%Haessteril โดยให้ 10cc/kg/doseเหมือนกัน
ข้อบ่งชี้การให้colloid solution ได้5%D/NSS 10cc/kg/hr× 2 hr แล้วclinical shock ยังไม่ดีขึ้น ได้ crystalloidปริมาณมาก(เกิน MT+5%) แต่ v/s ไม่stableหรือ ลดrate ivไม่ได้ Hct ยังสูงมาก 6ชมแรก เกิน2เท่า ของMT+5% 6ชม.หลังshock ได้ivเกิน MT+5% ผู้ป่วยมีอาการน้ำเกิน เช่น ตาบวม ท้องอืด แน่นท้อง หายใจเร็ว decrease breath sound
ข้อบ่งชี้ในการให้เลือดข้อบ่งชี้ในการให้เลือด bleed > 10%TBV (60-80cc/kg) เช่นBW=10 TBV=8010=8OO ถ้ามีเลือดออกมากกว่า 80 ccควรขอเลือดมาให้ : FWB / PRC Thalassemia , G6PD def. ที่มี hemolysis / anemia Shock / ลดIVไม่ได้เลย แต่HCTปกติหรือต่ำ (35-45%) กรณีprolong shock liver failureถ้ามีPRเร็ว เช่นเด็กโต>130เด็กเล็ก>140และมี metabolic acidosis ให้คิดถึง internal bleeding เสมอ
การให้platelet tranfusion • ไม่มีความจำเป็นในการให้ platelet tranfusion เพื่อป้องกัน ภาวะbleeding • พิจารณาให้platelet tranfusion ในผุ้ป่วยDHFที่มีsever bleeding และplateletต่ำมากๆและมี prolong coagulogram ที่บ่งบอกถึงภาวะ DIC
HIGH RISK PATIENT • อายุ<1ปี มักมี unusual manifestation +มีน้ำเกินได้ง่าย • DHF grade 4 ที่มี organ failure,metabolic acidosisและelectrolyte imbalance • ผู้ป่วยอ้วน มักมีปัญหาน้ำเกินและภาวะหายใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว • ผู้ป่วยที่มี massive bleeding • ผู้ป่วยที่มีอาการทางสมอง • ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเช่นG6PD deficiency , thalassemia โรคไต , โรคหัวใจ
การดูแลผู้ป่วยระยะฟื้นตัวการดูแลผู้ป่วยระยะฟื้นตัว • A: good appetite • B:BP stable , wide PP,bradycardia+full • C:convalescent rashตามแขนขาพบ 30%ของcase/isching • D:diuresis , hemodilution(38-40%) • หยุดให้ iv fluid • ให้lasix เมื่อมีข้อบ่งชี้ • Bleeding precaution ให้ผู้ป่วยพัก ป้องกันการกระทบกระแทก ห้ามหัตถการที่รุนแรง แปรงฟันอย่างระมัดระวัง • ถ้ายังไม่อยากทานอาหารอาจเกิดจากท้องอืด bowel ileus จาก hypokalemia
ข้อควรพิจารณาก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้านข้อควรพิจารณาก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้าน • ไข้ลงอย่างน้อย 24 ชม.โดยไม่ได้ใช้ยาลดไข้ • รับประทานอาหารได้ดี • อาการโดยทั่วไปดีขึ้นอย่างชัดเจน • ปัสสาวะจำนวนมาก≥ 2cc/kg/hr • Hct ลดลงจนปกติ/stableที่ 38-40%ในรายที่ไม่ทราบbaseline • ถ้ามีshock ต้องอย่างน้อย 2 วันหลังช็อค • ไม่มี respiratory distress จาก pleural effusion / ascitis • ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆเช่น dual inection • ถ้า Plt <50,000 ตอนกลับบ้านควรย้ำไม่ให้มีการกระทบกระแหก เช่น งดออกกำลังกายมงดขี่จักรยาน ห้ามถอนฟันหรือฉีดยาเข้กล้ามภายใน 1-2 สัปดาห์
การส่งต่อผู้ป่วย DHFgrade 4 DHF with bleeding(hypermenorrhea) Unusual manifestation :seizure ,conscious change Infant DHF with underlying dis. DHF with fluid over lode DHFgrade 3 ที่ให้5%D/NSS 10cc/kg 2ชม. Hct ยังสูง และให้dextrane-40 10cc/kg อีก1ชม.แล้วไม่ดีขึ้น หรือมีช็อคซ้ำ
การดูแลก่อนการส่งต่อผู้ป่วย DHF ควรมีแพทย์/พยาบาลมาด้วยทุกครั้ง รถrefer ควรมีอุปกรณ์ resuscitation พร้อมใช้ ควรติดต่อมาที่โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ทุกครั้งก่อน refer การเขียนใบreferต้องมีประวัติผู้ป่วย ,เวลาที่admit เวลาที่ช็อค ,dengue chart,I/O record รวมถึงน้ำทุกชนิดที่กิน, ยาทุกชนิดที่ได้รับ ผู้ป่วยควรมีV/S stable ก่อน refer ควรมี set control iv ด้วยทุกครั้ง Check iv ก่อนออกเดินทาง และคอยดูแลให้ได้ตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัดขณะเดินทาง Record v/s เป็นระยะในช่วงเดินทางถ้ามีปัญหาให้โทรปรึกษาแผนการรักษา ถ้า iv leakขณะเดินทางและผู้ป่วยไม่อยู่ในสภาวะ shock อาจให้ดื่ม ORS
DUAL INFECTION ก่อนadmit หลังadmit • UTI • GI:diarrhea • pneumonia • BONE& MUSCLE • thrombophlebitis • pneumonia • UTI • septicemia
Non infectious complication • transfusion reaction • GI bleed โดยเฉพาะคนที่ได้ASA ,brufen หรือเป็นPUอยู่เดิม • hepatitis โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับยาหลายๆตัวที่ไม่จำเป็นหรือกินยาลดไข้ paracetomal บ่อยมากจนได้รับยาเกินขนาด • drug reaction มักพบในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มี underlying dis. ได้รับยาหลายตัวอยู่แล้ว
cause of death • Prolong shock • Fluid overlode: puffy eye lids,tachypnea rapid and full pulse , wide PP แต่อาจพบ narrowing PPได้ในคนอ้วน ,fine crepitation /wheezing,rhonchi • Sever bleeding • Unusual manifestation
สาเหตุของPROLONG SHOCK • Delay treatment / วินิจฉัยไม่ถูกต้อง • มีภาวะfluid overload +inadeuate respiration ซึ่งอาจเกิดจาก -ได้ hypotonic solution - มีplasma leakage มากและไม่ได้ colloid • มีภาวะbleeding แต่ไม่ได้รับเลือดทดแทน ซึ่งภาวะเลือดออกอาจเกิดจาก กินยาASA,brufen ,steroid หรือมีPUอยู่เดิม มีhypermenorrhea หรือhemoglobinumia หรือมีinternal bleeding or conceled bleeding
สาเหตุของภาวะน้ำเกิน • ให้iv fluid ตั้งแต่ระยะไข้สูงวันแรกๆซึ่งไม่มีความจำเป็น • ใช้hypotonic solution (5%D/N/2 , 5%D/N/3) • ให้iv fluid มากเกิน และให้นานกว่าระยะเวลา leakage • ไม่คิดถึงภาวะinternal bleeding ไม่ได้ให้เลือด • ไม่ใช้ colloid solution เมื่อมีข้อบ่งชี้ • ผู้ป่วยอ้วนไม่ใช้ ideal BW
การรักษา prolong shock • ถ้าไม่เคยได้ ivให้0.9%NSS 10cc/kg free flow ถ้าเริ่มวัดBPได้ให้10cc/kg/hr นาน 1 ชม.และลด iv ตามแผนการรักษา • ถ้ามีภาวะน้ำเกินให้ dextran 40 10cc/kg/hr พอครบ 1ชม.เปลี่ยนเป็น 5%D/NSS ลด rate ivลง และพิจารณาให้ lasix 1mg/kg ถ้าBPstable • ถ้ามี bleeding /hemoglobinuria พิจารณาให้เลือดเช่น baseline Hct=40 Shock Hct= 52 ถ้าHct = 42 แต่ลด iv ไม่ได้ระวังว่า จะมี bleeding ควรให้เลือดควรมีhemoconcentration ถ้ายังไม่ดี • พิจารณาinotropic drug ถ้าprolong shock /มีunderlying dis./อาจมีภาวะrenal failure , heart failure
การรักษา fluid overload • ให้lasix 1mg/kg ถ้าBPดี และ monitor v/s q15 min อย่างน้อย 4 ครั้งหลังได้lasix ถ้ามี shock ให้ colloid solution 10cc/kg/hr • พิจารณาให้ colloid solution 10cc/kg/hr ถ้าHct ยังสูง และเมื่อครบ 1 ชม.เปลี่ยนเป็น 5%D/NSSลดrate iv ให้ได้มากๆตามระยะโรค • retain foley catheter record urine output q 1 hr. goal urine 0.5-1 cc/kg/hr