240 likes | 459 Views
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558. โดย นายชุตินทร คงศักดิ์ รองอธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2554. สถิติอาเซียน. ประชากร - 600.15 ล้านคน (2553) พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตร. กม. GDP รวม - 1,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ การค้า (มูลค่าส่งออกและนำเข้า)
E N D
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 โดย นายชุตินทร คงศักดิ์ รองอธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2554
สถิติอาเซียน ประชากร - 600.15 ล้านคน (2553) พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตร. กม. GDP รวม - 1,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ การค้า (มูลค่าส่งออกและนำเข้า) - 1,540 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ การลงทุนจากต่างประเทศ - 39,623 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อาเซียนกับประเทศไทย • อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกันกว่า 7 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐคิดเป็นร้อยละ 20 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทย และไทยได้เปรียบดุลการค้าถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ • สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลปี 2552) • นักท่องเที่ยว 3.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25.96 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด
ประเด็นปัญหาท้าทายของอาเซียนประเด็นปัญหาท้าทายของอาเซียน การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐฯ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน ประชาคมอาเซียน: การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค
โครงสร้างประชาคมอาเซียนโครงสร้างประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคมอาเซียน 2558 ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (APSC) ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC)
กฎบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter) • ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 • มีผลใช้บังคับ เมื่อ 15 ธ.ค. 2551 • ทำให้อาเซียนมีสถานะองค์กรระหว่างประเทศที่ผูกพันประเทศสมาชิกมากขึ้น • มีกฎกติกาในการทำงาน • มีประสิทธิภาพมากขึ้น • มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง • เพื่อวางรากฐานสำหรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง(ASEAN Political-Security Community) • ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง • อยู่ร่วมกันโดยสันติ • แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี • สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกันด้าน ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน • ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุมรอบด้าน เช่น โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ • มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือระหว่างประเทศสมาชิกโดยเสรี เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ลดช่องว่างระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน ส่งเสริมให้อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะที่เสียเปรียบ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) เป็นสังคมที่สมาชิกมีความเอื้ออาทรต่อกัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม ส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ - พัฒนาสังคม - พัฒนาการฝึกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและ สูงกว่าการสร้างงาน และการคุ้มครองทางสังคม - สาธารณสุข - ด้านสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน - ส่งเสริม ‘อัตลักษณ์’ ของอาเซียนโดยการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน ระหว่างประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค U.S.A. Australia Russia Canada ASEAN New Zealand China Republic of Korea E.U. Japan India
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศ RIO GROUP U.N. ASEAN SAARC GCC MERCOSUR ECO
สถาปัตยกรรมในภูมิภาค (Regional Architecture) ของอาเซียน ARF/ APEC EAS/ ADMM-Plus ASEAN+3 ASEAN
เขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาเขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ASEAN-Russia ASEAN-Canada CEPEA ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA EAFTA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP ASEAN-Pakistan AEC ASEAN-India FTA ASEAN-Australia- New Zealand FTA
การส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) • การสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถใน การแข่งขันมากขึ้น • ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ง่ายขึ้น • เป็นพื้นฐานสำหรับการสร้างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น ๆ รวมทั้งเอเชียตะวันออก • มีทั้งการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม กฎระเบียบต่าง ๆ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน
แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน(ASCC Blueprint) การให้ความสำคัญกับการศึกษา • เน้นการบูรณาการด้านการศึกษาให้เป็นวาระการพัฒนาของอาเซียน ส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน • ส่งเสริมการสร้างความตระหนักรับรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มเยาวชน เพื่อสร้างอัตลักษณ์อาเซียนบนพื้นฐานของมิตรภาพและ ความร่วมมือ
ปฏิญญาชะอำ-หัวหินด้านการศึกษาฯปฏิญญาชะอำ-หัวหินด้านการศึกษาฯ • รับรองระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 • พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่าน 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. เสาการเมืองและความมั่นคง เช่น การสร้างความตระหนักรู้ เรื่องกฎบัตรอาเซียน ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน สันติภาพ 2. เสาเศรษฐกิจ เช่น การพัฒนากรอบทักษะ การสนับสนุนการ ถ่ายโอนนักศึกษา สนองตอบความต้องการภาคอุตสาหกรรม 3. เสาสังคมและวัฒนธรรม เช่น จัดทำหลักสูตรอาเซียน อบรม ครูอาจารย์ สอนภาษาอาเซียน จัดงานเฉลิมฉลองวันอาเซียน
แผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี2553-2558 1. การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน 2. การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้มีทักษะที่ เหมาะสม 3. การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและ ครูอาจารย์ในอาเซียน 4. การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการ ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 5. การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากรสำคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน • การผนวกวิสัยทัศน์และแผนปฏิบัติการของอาเซียนเข้าสู่นโยบายของรัฐบาลและส่วนราชการ เพื่อผลักดันให้ไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าประสงค์ที่ผู้นำอาเซียนมีร่วมกัน • การสร้างองค์ความรู้ของหน่วยราชการ รับทราบข้อมูลอาเซียนที่ทันต่อเหตุการณ์ บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน และช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • การจัดตั้งสำนักงานหรือส่วนความร่วมมืออาเซียนในส่วนราชการ เป็นจุดประสาน เป็นเครือข่ายในการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนราชการของไทย
คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ • จัดตั้งขึ้นตามข้อ 13 ในกฎบัตรอาเซียน • ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานกลางแห่งชาติ ส่งเสริมอัตลักษณ์และ ความสำนึกเกี่ยวกับอาเซียนในระดับชาติ • มีส่วนร่วมสร้างประชาคมอาเซียน ติดตามเร่งรัดการดำเนินงาน และเตรียมการด้านสารัตถะสำหรับการประชุมอาเซียน • จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2553 โดยมี รมว.กต. เป็น ประธาน และอธิบดีกรมอาเซียนเป็นกรรมการและเลขาธิการ
สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย ASEAN Association Thailand จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2551 มีบทบาทเป็นกลไกลคู่ขนานกับภาครัฐในการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน ความสำคัญของอาเซียนต่อประเทศไทย และความตื่นตัวในการมีส่วนร่วมสร้างประชาคมอาเซียนในหมู่ประชาชนไทยผ่านกิจกรรม/โครงการ และสื่อการเรียนรู้ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน ระหว่างปี 2552-2553 สมาคมฯ ได้ริเริ่มโครงการต่าง ๆ อาทิ โครงการแลกเปลี่ยนภาคประชาชนอาเซียน โครงการวรรณกรรมเพื่ออาเซียน โครงการเสวนาอาเซียน 4 ภาค กิจกรรมวันครบรอบการก่อตั้งอาเซียน
กิจกรรมการเตรียมความพร้อมของไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนกิจกรรมการเตรียมความพร้อมของไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน • ศูนย์อาเซียนศึกษา • หลักสูตรอาเซียน- กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้ง “คณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมาย การจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2558” ขึ้นมาเพื่อผลักดันให้เกิดหลักสูตรอาเซียนศึกษา ซึ่งจะช่วยให้เยาวชนของชาติเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียนมากยิ่งขึ้น • กิจกรรมส่งเสริมความเชื่อมโยงในอาเซียน (Connectivity) • กิจกรรมที่กระทรวงการต่างประเทศเคยดำเนินการ เช่น การประกวดเพลงชาติอาเซียน การจัดมุมอาเซียน การแข่งขันวาดภาพอาเซียน การประกวดเรียงความ โครงการสารคดีอาเซียน ดีวีดีและหนังสือการ์ตูนอาเซียน • กิจกรรมวันสถาปนาอาเซียน 8 สิงหาคม- การชักธงอาเซียน การแข่งขันตอบปัญหาอาเซียน
THANK YOU One Vision One Identity One Community