360 likes | 1.65k Views
เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน ของบุคลากรในโรงพยาบาล และเอกสารประกอบการประเมิน ปี 2555. นายเกียรติศักดิ์ อุ่นศิริ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สสจ.อุดรธานี.
E N D
เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล และเอกสารประกอบการประเมิน ปี 2555 นายเกียรติศักดิ์ อุ่นศิริ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สสจ.อุดรธานี
กระบวนการพัฒนาและการขอรับการรับรองผ่านเกณฑ์ประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รพ.สมัครเข้าร่วมโครงการที่ สคร. / สสจ. ตามแบบฟอร์ม RAH.05 RAH.05 เล่มเขียว หน้า 25 สคร. / สสจ. ชี้แจงทำความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินงานและการตรวจประเมินรับรองพร้อมแจกคู่มือโครงการ รพ.ศึกษาคู่มือและทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานและเรื่องเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงให้ชัดเจน
กระบวนการพัฒนาและการขอรับการรับรองผ่านเกณฑ์ประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รพ.กำหนดแผนงานการประเมินความเสี่ยงใน รพ. • ประเมินนโยบาย • ประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล (ตามแบบ RAH.01) RAH.01 เล่มเขียว หน้า 27 RAH.02 เล่มเขียว หน้า 40 วิเคราะห์และสรุปผลการประเมินความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง (ตามแบบ RAH.02) จัดทำแผนดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง(แผนควบคุม / ป้องกันและแก้ไขปัญหา)
กระบวนการพัฒนาและการขอรับการรับรองผ่านเกณฑ์ประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง(แผนควบคุม / ป้องกันและแก้ไขปัญหา) RAH.03 หน้า 17 SRAH.01 หน้า 24 RAH.06 หน้า 54 RAH.04 หน้า 23 ดำเนินตามแผนดำเนินการฯ เพื่อการแก้ไขปรับปรุง ขอสนับสนุนการดำเนินงานจาก สคร / สสจ /รพ.อด. รพ.ดำเนินการตรวจประเมินผลการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานฯ (แบบ RAH.03) ความเสี่ยงครั้งที่ 2 ด้วยตนเอง ดำเนินการแก้ไข / ปรับปรุงตามผลการตรวจประเมินฯ ตามแบบ RAH. 03 ครั้งที่ 1 ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดและทำการตรวจประเมินโดยแบบ RAH.03 ครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นการตรวจยืนยัน พร้อมจัดทำรายงานการตรวจประเมินตนเองตามแบบฟอร์ม SRAH.01 เพื่อขอรับการตรวจประเมินและส่งแบบรายงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล RAH.06
กระบวนการพัฒนาและการขอรับการรับรองผ่านเกณฑ์ประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความหมายเอกสาร (เล่มสีเขียว) : SRAH.01 หน้า 24: แบบรายงานผลการประเมินตนเอง (Self – Risk Assessment in Hospital RAH.01 หน้า 27: แบบประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในการทำงานในโรงพยาบาล RAH.02 หน้า 40 : แบบสรุปผลการประเมินความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยง RAH.03 หน้า 17: ผลการตรวจประเมินการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล RAH.04 หน้า 23: แบบสรุปผลการตรวจประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรใน รพ. RAH.05 หน้า 25 : ใบสมัครเข้าร่วมการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ RAH.06 หน้า 54 : แบบสอบถาม สำหรับจัดทำสถานการณ์โรคและสิ่งคุกคามสุขภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน รพ.
วิธีการประเมิน Paper จากอกสาร หลักฐานต่างๆ Participation จากการซักถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง Practice จากการเดินสำรวจในพื้นที่ปฏิบัติงานและซักถามบุคลากร
ใช้เกณฑ์การประเมินเดิมตามปี 2551 (เล่มสีแดง) • ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 11 ข้อใหญ่ 34 ข้อย่อย • แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับ 1-5
จำนวนข้อ จำนวนข้อ
ระดับ 1 พื้นฐาน มีนโยบาย ทีมงาน แผนการดำเนินงาน ตรวจสุขภาพทั่วไป ระดับ 2 เริ่มมีการดำเนินงานในกิจกรรมที่สำคัญ RAH01 ระดับ 3 มีการดำเนินงานในกิจกรรมที่สำคัญครบถ้วน และมีการประเมินผลการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ และสรุปผลการดำเนินงานประจำปี ระดับ 4 มีการประเมินผลการดำเนินงานบริหารจัดการความเสี่ยงฯ และสรุปผลการดำเนินงานประจำปี ระดับ 5 ดีเลิศ มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
1. การบริหารจัดการ 2. การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 3. การติดตามประเมินผล
สาระเกณฑ์การประเมิน องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ นโยบาย แผน ทีมงาน การนำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหาร มีการสื่อสารแผนให้บุคลากรทราบ องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยงเบื้องต้นและด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ การสอบสวนโรค แก้ไขความเสี่ยง สื่อสารความเสี่ยง ตรวจสุขภาพ (ทั่วไป ตามความเสี่ยงจากการทำงาน) ระบบประเมินสุขภาพ วินิจฉัยโรคจากการทำงาน การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ จัดการและวิเคราะห์ข้อมูล คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล นแผนติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ผลการตืดตามประเมินผล สรุปผลการดำเนินงานประจำปี ต่อเนื่อง 3 ปี
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ (4 ข้อใหญ่ 9ข้อย่อย) 1. มีนโยบายด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 1.1 มีการกำหนดนโยบายด้านนี้ ครบทั้ง 3 ประเด็น นโยบายที่เกี่ยวข้อง เช่น HA, HPH, 5ส. หรืออื่นๆ ส่วนใหญ่จะแยกกัน 1.2 มีการเขียนนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร นโยบายต้นฉบับที่ลงนามโดยผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1.3 มีการสื่อสารและประชาสัมพันธ์นโยบาย ภาพถ่ายการประชาสัมพันธ์นโยบายที่บอร์ดที่สามารถเห็นได้ชัดเจนหรือทำเป็นป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ หรือโรงพยาบาลที่ดำเนินงานมานานแล้วอาจจะผ่านขั้นตอนการติดที่บอร์ดไปแล้ว อาจจะอยู่ในแฟ้มการปฏิบัติงานรายบุคคลของทุกคน
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 2. มีคณะกรรมการรับผิดชอบงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2.1 มีคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่รับผิดชอบ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง (HA, HPH, 5ส. ฯลฯ) ที่ระบุบทบาทหน้าที่สำคัญๆ ชัดเจน เช่น การประเมินความเสี่ยงฯ การตรวจสุขภาพประจำปี 2.2 มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง หรือปีละอย่างน้อย 6 ครั้ง รายงานการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง บันทึกเป็นลายมือหรือพิมพ์ก็ได้ หรือรายงานการประชุมกรรมการบริหารของโรงพยาบาลซึ่งมีวาระเกี่ยวข้อง
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 3. มีแผนงาน/โครงการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมจากการทำงานของบุคลากร 3.1 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีประเมินความเสี่ยงฯ 3.2 มีแผนการควบคุมแก้ไขความเสี่ยงฯ ที่ตรวจพบ เอกสาร/เล่มแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงพยาบาล แผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง (กรรมการ ENV, IC, HPH)ทั้งหมด ทั้งกิจกรรมที่ใช้งบประมาณและไม่ต้องใช้งบประมาณ ระบุกิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 3.3 มีการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการ บันทึกข้อความแจ้งเวียนแผนปฏิบัติการประจำปี หากแจ้งในการประชุมเชิงปฏิบัติการควรมีสรุปการประชุม ภาพกิจกรรมการประชุม 4. มีการจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการปรับปรุงแก้ไขความเสี่ยงที่ตรวจพบในโรงพยาบาลเสนอแก่ผู้บริหาร บันทึกข้อความเสนอผู้บริหาร หากนำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหารของโรงพยาบาล ควรมีรายงานการประชุม
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง(5 ข้อใหญ่ 20 ข้อย่อย) 5. มีการดำเนินการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 5.1 มีการตรวจประเมินความเสี่ยงในการทำงานเบื้องต้น (ตามแบบ RAH01 หรือแบบประเมินความเสี่ยงอื่นๆ) ตัวอย่าง RAH01 ที่ดำเนินการแล้วสรุปผลการประเมินตาม RAH01 มีการจัดลำดับความเสี่ยงที่ตรวจพบ หากใช้แบบประเมินอื่นๆ ต้องเป็นแบบที่มีการพิจารณาทุกด้าน (กายภาพ ชีวภาพ เคมี และจิตวิทยาสังคม) และมีการจัดลำดับความเสี่ยง ยกเว้นในโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการในปีแรกหรือระบุไว้ในแผนการดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 5.2 มีการตรวจยืนยันด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ในแผนกที่ตรวจพบจากข้อ 5.1 -ผลการตรวจจากศูนย์วิศวกรรมฯ หรือหน่วยงานอื่นๆ ย้อนหลัง 2 ปี -พิจารณาจากความเสี่ยงที่มีคะแนนสูง (คะแนน 6 หรือ 9) ควรมีการตรวจวัดด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ หรือมีแผนที่จดำเนินการ ยกเว้นพารามิเตอร์ที่ไม่สามารถตรวจวัดได้หรือตรวจวัดยาก -หากไม่มีความเสี่ยงที่มีคะแนนสูง ให้พิจารณาวิธีการให้คะแนนว่าถูกต้องหรือไม่
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 5.3 มีการสอบสวนภายหลังการเกิดโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน รายงานการสอบสวนโรค อุบัติเหตุจากการทำงาน หรือจากรายงาน RM ก็ได้ โดยเมื่อได้รับรายงานแล้วผู้รับผิดชอบต้องไปสอบสวนข้อเท็จจริง ตามหลักระบาดวิทยา สรุป เสนอแนะผู้เกี่ยวข้องเพื่อการป้องกันควบคุมโรคฯ และใช้กับบุคลากรทุกคนในองค์กร 5.4 มีการตรวจเฝ้าระวังยืนยันด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ในแผนกที่ตรวจพบจากข้อ 5.1 ผลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานย้อนหลังอย่างน้อย 2 ครั้ง (2 ปี) หากยังไม่ดำเนินการต้องระบุในแผนการดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 5.5 มีการควบคุมแก้ไขความเสี่ยงที่ตรวจพบโดยการควบคุมที่แหล่งกำเนิด/ที่ทางผ่าน/ที่ตัวบุคคล สรุปการแก้ไขความเสี่ยงที่ตรวจพบ ภาพถ่ายก่อนและหลังดำเนินการ จากการเดินสำรวจและสอบถามข้อมูลในพื้นที่ 5.6 มีการสื่อสารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมการทำงานที่ตรวจพบให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ บันทึกข้อความแจ้งผลการประเมินความเสี่ยง ติดประกาศที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ หากแจ้งหัวหน้างานในการประชุมกรรมการบริหารควรมีในรายงานการประชุม และจากการสอบถามบุคลากรในแผนกต่างๆ โดยเฉพาะแผนกที่มีคะแนนความเสี่ยงสูง
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 6. มีการตรวจสุขภาพบุคลากร 6.1 มีการตรวจสุขภาพทั่วไป (การตรวจสุขภาพประจำปีและก่อนเข้าทำงาน) ผลการตรวจสุขภาพ ทั้งรายบุคคล และสรุปผลการตรวจสุขภาพประจำปี และก่อนเข้าทำงาน 6.2 มีระบบการประเมินสุขภาพบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพ/ลักษณะของงาน (ก่อนเข้าทำงานหรือเมื่อป่วย หรือเมื่อเปลี่ยนงาน) รายละเอียดการเปลี่ยนงานให้บุคลากรเนื่องจากภาวะสุขภาพ กรณีไม่เคยมีควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์ไว้เบื้องต้น โดยเฉพาะในแผนกที่เสี่ยงสูง
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 6.3 ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานระหว่างประจำการ ผลการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากร 6.4 ให้มีระบบการตรวจวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รายงานการสอบสวน การวินิจฉัย การเก็บข้อมูลโรค อุบัติเหตุจากการทำงาน ของบุคลากร ระบบการวินิจฉัย รักษาโรค อุบัติเหตุจากการทำงาน 6.5 มีการแจ้งผลการตรวจสุขภาพแก่บุคลากรเป็นรายบุคคล สมุดบันทึกผลการตรวจสุขภาพรายบุคคล OPD Card แฟ้มบันทึกผลการตรวจสุขภาพรายบุคคล
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 7. การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ 7.1 มีการให้ภูมิคุ้มกันตามความเสี่ยงของงาน บันทึก/สรุปการให้วัคซีนแก่บุคลากร 7.2 มีการดำเนินงานในการป้องกัน ควบคุมโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน โครงการ/แผนงาน/กิจกรรมการป้องกัน ควบคุมโรค อุบัติเหตุจากการทำงาน รายงานการดำเนินงาน 7.3 มีการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและการเจ็บป่วยทั่วไป โครงการ/แผนงาน/กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร รายงานการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 7.4 มีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยแก่ผู้ปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โครงการ/แผนงาน/กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยแก่บุคลากร รายงานการดำเนินการให้ความรู้ 8. มีการจัดการระบบข้อมูลด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 8.1 การจัดเก็บ บันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพ - ประวัติสุขภาพรายบุคคลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไปและผลการตรวจสุขภาพ จากข้อ 6.1+ OPD Card
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 8.1 การจัดเก็บ บันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพ - บันทึกข้อมูลผลการประเมินด้านสิ่งแวดล้อมการทำงาน จากข้อ 5.1, 5.2, 5.4 - จำนวนและอัตราการเจ็บป่วย/การบาดเจ็บ การรักษา และการฟื้นฟูสุขภาพ บันทึกข้อมูลจำนวน อัตราการเจ็บป่วย อุบัติเหตุ การรักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งเจ็บป่วยทั่วไปและจากการทำงาน
องค์ประกอบที่ 2 การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 8.2 การจัดทำรายงานวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมการทำงานของบุคลากรเสนอผู้บริหารเพื่อดำเนินการแก้ไข รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมการทำงาน รายงาน RAH 06 9. จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน/แนวทาง/ขั้นตอนการทำงาน เพื่อความปลอดภัยจำแนกตามลักษณะงาน คู่มือปฏิบัติงาน/แนวทาง/ขั้นตอนการทำงานเพื่อความปลอดภัย ตามคู่มือเล่มสีแดงหน้า 44 จากการเดินสำรวจในพื้นที่ปฏิบัติงาน
องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล (2 ข้อใหญ่ 5 ข้อย่อย) 10. การติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ 10.1 มีแผนงาน/โครงการติดตามประเมินผลการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมการทำงาน มีแผนการติดตามประเมินผลการประเมินความเสี่ยงฯ ระบุในข้อ 3.1 หากดำเนินการแล้ว มีสรุปการติดตามประเมินผล 10.2 มีแผนงาน/โครงการติดตามประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงและการป้องกันควบคุมแก้ไขความเสี่ยงฯ มีแผนการติดตามประเมินผลการจัดการความเสี่ยงฯ ระบุในข้อ 3.2 หากดำเนินการแล้ว มีสรุปการติดตามประเมินผล
องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล 11. การสรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงแผนงานโครงการอย่างต่อเนื่อง 11.1 มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนการประเมินความเสี่ยงฯ ประจำปี 11.2 มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงและการป้องกันควบคุมแก้ไขความเสี่ยงฯ ประจำปี สรุปผลการดำเนินงานประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง การตรวจสุขภาพ อื่นๆ ประจำปี
องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล 11.3 มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนการประเมินความเสี่ยงฯ และแผนการป้องกันควบคุมแก้ไขการดำเนินงานครอบคลุมแผนกที่สำคัญตามที่กำหนด และมีการพัฒนาแผนงานโครงการอย่างต่อเนื่องติดต่อกันมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี สรุปผลการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ การจัดการความเสี่ยง การตรวจสุขภาพ อื่นๆ ย้อนหลัง 3 ปี
การสนับสนุนของ สคร.6 • พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ทีมงาน • ประชุมแลกเปลี่ยนการประเมินความเสี่ยง 23-24 มีนาคม 53 ณ โรงแรมโฆษะ • สนับสนุนการตรวจประเมินด้านสิ่งแวดล้อม • สนับสนุนการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง • สนับสนุนสื่อ และเอกสารทางวิชาการ • ให้คำแนะนำ ปรึกษา