410 likes | 761 Views
การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS ( KPIs ) COMPETENCY. วันที่ 26-27-28 ตุลาคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9. ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ/การดำเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นไปอย่างประหยัดทรัพยากรและทันเวลา ที่กำหนด.
E N D
การจัดทำKEY PERFORMANCE INDICATORS (KPIs)COMPETENCY วันที่ 26-27-28 ตุลาคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9
ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ/การดำเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นไปอย่างประหยัดทรัพยากรและทันเวลา ที่กำหนด
ประสิทธิผล การบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ ทั้งในด้านปริมาณและด้านคุณภาพ
คุณภาพ การบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการอย่างครบถ้วนภายใต้การบริหารจัดการที่ดี
PERFORMANCE EVALUATION เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ไม่ส่งผลถึงองค์กร
PERFORMANEC APPRAISAL เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ส่งผลถึงองค์กร
PERFORMANEC MEASUREMENT เป็นการวัดผลการปฏิบัติงานที่จะออกมาเป็นตัวเลข ที่จะให้คนพัฒนาไปถึง ระดับคะแนนเต็ม
KEY PERFORMANCE INDICATOR(KPIs) *เป็นเครื่องมือวัดผลการดำเนินงานที่สำคัญของส่วนราชการ เพื่อแสดงถึงความสำเร็จหรือความกว้าหน้าเป็นเชิงปริมาณหรือตัวเลข(Quantifiable aspects) *เครื่องมือหรือดัชนีที่ใช้ในการวัดหรือประเมินว่าผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ (ภารกิจ)ขององค์กร/บุคคลเป็นอย่างไร จะต้องปฏิบัติบนพื้นฐานของเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ต้องสามารถวัดได้และต้องอธิบายได้อย่างชัดเจน
KEY RESPONSIBLE AREAS (KRAs) สิงที่องค์กร/บุคคลต้องทำ หรือให้ความสนใจเพื่อจะทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ
การกำหนด KPIs เป็นการพิจารณาว่าการดำเนินงานขององค์กรหรือบุคคลใน KRA แต่ละด้านเป็นอย่างไร KPIs คือสิ่งที่ต้องวัดหรือประเมิน เพื่อบ่งบอกว่าองค์กรหรือบุคคลประสบความสำเร็จใน KRAs ด้านนั้น ๆ
วิธีการจัดทำ KPIs • นำเอาภาระงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการกอง /หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี อธิการบดี มาดูว่ามี • งานอะไรบ้างที่เป็นหน้าที่งานหลัก (ขั้นตอนตกลงร่วมกันระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับการประเมิน)
2. พิจารณาดูว่า ลูกค้า/ผู้รับบริการ ของงานตามข้อ 1 เป็นใคร เขาต้องการอะไรส่วนใหญ่ คือ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย ปริมาณ ความพึงพอใจ (วัตถุประสงค์ของงาน)
3.กำหนดเป็นตัวชี้วัดว่าจะวัดอะไร ตามความต้องการของลูกค้าผู้รับบริการ
คุณสมบัติของดัชนี(SMART) Specific =เฉพาะเจาะจงชัดเจน Measurable= สามารถวัดได้ Achievable=สามารถบรรลุได้ Realistic=สอดคล้องกับความเป็นจริง เก็บข้อมูลได้ Timely=วัดได้เหมาะสมตามช่วงเวลาที่ กำหนด
ความพึงพอใจผู้รับบริการ(RATER)ความพึงพอใจผู้รับบริการ(RATER) Reliability = ได้ตามที่ตกลง Assurance=มีความมั่นใจเชื่อถือได้ Tangible=เป็นรูปธรรมสัมผัส/เห็นได้ empathy=ได้รับการเอาใจใส่ Responsiveness =ได้รับบริการทันที
ค่าของ KPIs แสดงเป็นตัวเลข ร้อยละ(PERCENTAGE) สัดส่วน(PROPORTION) อัตรา(RATE) อัตราส่วน(RATIO) จำนวน(NUMBER) ค่าเฉลี่ย(AVERAGE)
4.ต้องทำความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินว่าจะประเมินอะไร เกณฑ์ประเมินเป็นอย่างไร จะให้คะแนนกันอย่างไร การเปรียบเทียบกันจะกำหนดค่าคะแนนแตกต่างกันย่างไร ต้องทำการจัดอบรมทีมประเมิน
COMPETENCY สมรรถนะ/ขีดความสามารถ เป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร
การวัดพฤติกรรมไม่ใช่เป็นการวัดความรู้ความสามารถ ต้องวัดว่าบุคคลมีพฤติกรรมที่แสดงสมรรถนะหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด
สมรรถนะ เป็นส่วนหนึ่งของผลงาน เป็นพฤติกรรมที่เชื่อว่านำไปสู่ผลงานที่ต้องการ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะจึงเป็นการประเมินที่ต้องมีการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ด้วยการจดบันทึกและทำการประเมิน
ก่อนที่จะมีการประเมินสมรรถนะได้จำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจกับความหมายของสมรรถนะแต่ละสมรรถนะในแต่ละระดับ ตามพจนานุกรมสมรรถนะก่อนว่า หมายถึงอะไร
วิธีการจัดทำCompetency ภาคเร่งรัด 1.ศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลหน้าที่หลักของตำแหน่งงานทุกตำแหน่งในสังกัดสำนักงานอธิการบดี
วิธีการจัดทำCompetency ภาคเร่งรัด 2.จัดเป็นกลุ่มงาน (JOB FAMILY) -ลักษณะงาน -วัตถุประสงค์/ผลสัมฤทธิ์ -ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้เสีย
3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 1.กลุ่มงานสนับสนุนทั่วไป 2.กลุ่มงานนโยบายและแผน 3.กลุ่มงานสนับสนุนทางเทคนิคเฉพาะด้าน 4.กลุ่มงานนิติกร 5.กลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์
3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 6.กลุ่มงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 7.กลุ่มงานเจ้าหน้าที่บุคคล 8.กลุ่มงานกิจการนิสิต 9.กลุ่มงานการเงิน 10.กลุ่มงานพัสดุ
3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 11.กลุ่มงานบริการการศึกษา 12.กลุ่มงานประกันคุณภาพ 13.กลุ่มงานจัดการทรัพย์สิน 14.กลุ่มงานพัฒนากายภาพ 15.กลุ่มงานจัดการขนส่ง
3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 16.กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย 17.กลุ่มงานสนับสนุนการวิจัย 18.กลุ่มงานบริหาร 19.กลุ่มงานชำนาญการ 20.กลุ่มงานบันทึกข้อมูลและอัดสำเนา 21กลุ่มงานตรวจสอบภายใน
3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 16.กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย 17.กลุ่มงานสนับสนุนการวิจัย 18.กลุ่มงานบริหาร 19.กลุ่มงานชำนาญการ 20.กลุ่มงานบันทึกข้อมูลและอัดสำเนา 21กลุ่มงานตรวจสอบภายใน
4. กำหนดสมรรถนะหลักคือสมรรถนะร่วมที่ทุกกลุ่มงานต้องมี 5 สมรรถนะ 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.การบริการที่ดี 3.การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4.จริยธรรม 5.ความร่วมแรงร่วมใจ
5.สมรรถนะประจำกลุ่มงาน คือ สมรรถนะเฉพาะกลุ่มงาน เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงาน แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแก่หน้าที่และส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น โดยให้แต่ละกลุ่มงาน กำหนดสมรรถนะ จากผลงานวิจัยของสำนักงาน ก.พ. จำนวน 20 สมรรถนะ ให้มีสมรรถนะประจำกลุ่มงานละ 3 สมรรถนะ กลุ่มผู้บริหาร(ผอ./หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้างาน) ให้มี 5 สมรรถนะ
สมรรถนะด้านจริยธรรม ระดับที่ 0 ไม่แสดงพฤติกรรมด้านนี้อย่างชัดเจน
ระดับ ที่ 1 มีความซื่อสัตย์สุจริต *ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบวินัย *แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา
ระดับที่ 2 มีระดับที่ 1 มีสัจจะเชื่อถือได้ *รักษาวาจา มีสัจจะเชื่อถือได้ พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ไม่บิดเบือนอ้างข้อยกเว้นให้ตน *มีจิตสำนึกและภาคภูมิใจการเป็นข้าราชการ อุทิศแรงกายแรงใจผลักดันให้ภารกิจหลักบรรลุผล
ระดับที่ 3 มีระดับที่ 2 ยึดมั่นในหลักการ *ยึดมั่นในหลักการและจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่เบี่ยงเบนด้วยอคติ/ประโยชน์ส่วนตน *เสียสละความสุขสบายมุ่งให้ภารกิจสัมฤทธิ์ผลเป็นสำคัญ
ระดับที่ 4 มีระดับที่ 3 ธำรงความถูกต้อง *พิทักษ์ผลประโยชน์/ชื่อเสียง หน่วยงานประเทศชาติ แม้ในสถานการที่สร้างความลำบากใจ *ตัดสินใจในหน้าที่ด้วยความถูกต้องโปร่งใสยุติธรรม อาจสร้างศัตรู/ความไม่พอใจของผู้เกี่ยวข้อง
ระดับที่ 5 มีระดับที่ 4 อุทิศตนเพื่อผดุงความยุติธรรม *ธำรงความถูกต้อง ยึดหลักพิทักษ์ประโยชน์ /ชื่อเสียงของหน่วยงาน/ประเทศชาติ แม้ในสถานการณ์ที่อาจเสี่ยง ต่อความมั่นคงในตำแหน่ง/ต่อชีวิต
หลักสูตรการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรหลักสูตรการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากร • เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้บริหาร • เพื่อให้บุคลากรตามตำแหน่งงาน พัฒนาความรู้ทักษะการปฏิบัติงาน ศึกษาปัญหา มีแนวทางแก้ไข รวมทั้งสร้างผลงาน เพื่อความกว้าหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน
กรอบแนวคิด 1.เป็นบุคลากรที่มีเหตุมีผล 2.เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญในงานอาชีพ 3.เป็นผู้ที่รู้รักสามัคคี 4.เป็นผู้ที่มีน้ำใจบริการ 5.เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม
หลักสูตร 1.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหารระดับสูง 2.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหาร ระดับกลาง 3.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหารระดับต้น
4.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติงานแต่ละกลุ่มงาน4.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติงานแต่ละกลุ่มงาน 5.การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ทำงานวิเคราะห์วิจัยและงานสร้างสรรค์ 6.การผลิตผลงานทางวิชาการ(คณาจารย์) 7.การพัฒนาประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน(คณาจารย์ผู้ไม่มีวุฒิทางการศึกษา)
The End ขอขอบคุณ